ประวัติศาสตร์โลกยุคใหม่ ศ. 16 : 1501-1600 ศ. 17 : 1601-1700 ศ. 18 : 1701-1800 ศ. 19 : 1801-1900 ศ. 20 : 1901-2000 ปฏิรูปศาสนา + การสำรวจดินแดน นักคิด + นักวิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม + โรงงาน จักรวรรดินิยม (ล่าอาณานิคม) ยุคแห่งสงครามและความตรึงเครียด
ยุคแห่งความขัดแย้งและตรึงเครียด ศตวรรษที่ 20 1901-2000 ยุคแห่งความขัดแย้งและตรึงเครียด
ต้นศตวรรษที่ 20 1901-1950 ยุคแห่งสงครามโลก
ปลายศตวรรษที่ 20 1950-2000 ยุคแห่งสงครามเย็น
ยุคแห่งสงครามโลก 1900-1950 C.E.
Century 20 Timeline
Imperialism and the Balance of Power
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 Central Powers / Triple Alliance ฝ่ายไตรพันธมิตร / ฝ่ายมหาอำนาจกลาง 4,386,000 Allied (Entente) Powers / Triple Entente) ฝ่ายพันธมิตร 5,525,000
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 - เศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ทั่วโลก - ต้องทำสัญญาสันติภาพ - ผู้แพ้ต้องเสียค่าปฏิกรรมสงคราม - เสียดินแดนทั้งในยุโรปและอาณานิคม (เสียดินแดนที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ) - ต้องลดกำลังทหาร อาวุธ และต้องถูกพันธมิตรเข้ายึดครอง ดินแดนจนกว่าจะปฏิบัติตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเรียบร้อย (ถูกจำกัดกำลังทหารและห้ามสะสมอาวุธ ) - มีการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติ
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 สัญญาสันติภาพ สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (Versailles Treaty) ทำกับเยอรมัน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1919 สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมง ทำกับออสเตรีย สนธิสัญญาเนยยี ทำกับบัลแกเรีย สนธิสัญญาตริอานอง ทำกับฮังการี สนธิสัญญาแซฟส์ ทำกับตุรกี ภายหลังตุรกีขอแก้ไขสัญญาใหม่เป็นสนธิสัญญาโลซานน์
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 แผนที่ยุโรปเปลี่ยนไป ประเทศยุโรปหลายแห่งต่างเป็นลูกหนี้ของสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาเริ่มก้าวสู่ความเป็นประเทศมหาอำนาจเต็มตัว รัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจโลกสังคมนิยม(โลกคอมมิวนิสต์) เลนินทำการปฏิวัติยึดอำนาจในปี ค.ศ. 1917 ขยายอำนาจไปผนวกแคว้นต่างๆมากขึ้นเช่น ยูเครน เบลารุส ฯลฯ จัดตั้งสหภาพโซเวียต (USSR) ในปี ค.ศ. 1922 รัสเซีย ---- > สหภาพโซเวียต
สงครามโลกครั้งที่ 2 World War II ค.ศ. 1939-1945
WW II
มหาอำนาจในโลก (Great Power) ในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 U.K. France Russia Austria-Hungary Germany Italy Ottoman Turk USA Japan China
มหาอำนาจในโลก (Great Power) สงครามโลกครั้งที่ 2 U.K. France U.S.S.R (Soviet) USA China Germany Italy Japan
ประเทศหลังยุคอาณานิคม
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดมหาอำนาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นประเทศมหาอำนาจเต็มตัวคู่กับสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ( USSR ) กลายเป็นมหาอำนาจโลกสังคมนิยม(โลกคอมมิวนิสต์) สหรัฐอเมริกา ( USA ) กลายเป็นมหาอำนาจโลกเสรี(โลกเสรีประชาธิปไตย) ทำให้เกิดสงครามเย็น(Cold War)
โลกยุคปลายศตวรรษที่ 20 ยุคแห่งความตรึงเครียด ยุคสงครามเย็น Cold War
สงครามเย็น THE COLD WAR 1945 - 1991
มหาอำนาจในโลก (Great Power) ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 U.K. France U.S.S.R (Soviet) Austria-Hungary Germany Italy Ottoman Turk USA Japan China
COLD WAR เกิดมหาอำนาจของโลกใหม่ คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาก้าวสู่ความเป็นประเทศมหาอำนาจเต็มตัวคู่กับสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต ( USSR ) กลายเป็นมหาอำนาจโลกสังคมนิยม(โลกคอมมิวนิสต์) สหรัฐอเมริกา ( USA ) กลายเป็นมหาอำนาจโลกเสรี(โลกเสรีประชาธิปไตย) ทำให้เกิดสงครามเย็น (Cold War)
มหาอำนาจในโลก (Great Power) ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 United States of America U.S.A. (US) Union of Soviet Socialist Republics U.S.S.R (Soviet)
ผู้นำค่ายโลกเสรีประชาธิปไตย
ผู้นำโลกคอมมิวนิสต์
วิธีการที่ใช้ในช่วงสงครามเย็น วิธีการที่ใช้ในช่วงสงครามเย็น 1. การใช้แนวคิดหรืออุดมการณ์ โฆษณาชวนเชื่อ 2. เครื่องมือทางทหาร 3. การให้ความช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจ 4. การสร้างอิทธิพลทางการเมือง 5. เครื่องมือทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยี
1946 - นายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิล ของอังกฤษ กล่าวคำปราศรัยที่เมืองฟุลตัน มีการสร้างคำว่า "ม่านเหล็ก" มาใช้เป็นครั้งแรก 1947 - สหรัฐอเมริกา เขาเริ่มวางแผนสร้าง "แผนมาร์แชล" หรือโครงการฟื้นฟูบูรณะยุโรปขึ้นจุดเริ่มต้นของ "สงครามเย็น" - ผลการประชุมกลุ่มกติกาสัญญาวอร์ซอ ลงมติให้จัดตั้ง "โคมินฟอร์ม(COMINFORM)“
1948 - รัฐสภาอเมริกัน-ผ่านพระราชบัญญัติแผนมาร์แชล มูลค่า 17,000 ล้านดอลล่าร์เพื่อการช่วยเหลือชาติยุโรปให้ฟื้นตัวจากภัยและความเสียหายอันเกิดจากสงครามโลกครั้งที่ 2 - สหภาพโซเวียตประกาศปิด(หรือห้ามใช้) เส้นทางคมนาคมทั้งทางรถยนต์และทางรถไฟที่สัญจรไปมาระหว่างเบอร์ลินตะวันตกกับกลุ่มประเทศตะวันตก นี้คือจุดเริ่มต้นของนโยบายการปิดล้อมเบอร์ลิน
Marshhall plan
Marshhall plan
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น 1. การดำเนินนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียต 2. สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ 3. ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ.1949 - 1990) 4. สงครามเกาหลี (ค.ศ. 1950 – 1953) 5. สงครามอินโดจีน (ค.ศ. 1946 - 1973) เวียดนาม, ลาว, กัมพูชา 6. วิกฤตการณ์คิวบา (Cuban Missile Crisis, 1962)
การดำเนินนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียต
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น การดำเนินนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียตดำเนินนโยบายขยายลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าไปในยุโรปตะวันออก เหตุการณ์ที่ถือว่าเป็นการเผชิญหน้าระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต คือ เมื่อสหภาพโซเวียตขยายนโยบายลัทธิคอมมิวนิสต์เข้าไปในประเทศตรุกี และกรีซ ซึ่งเป็นเขตอิทธิพลของ อังกฤษ
สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้น ลัทธิคอมมิวนิสต์
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ การประกาศใช้นโยบาย “วาทะทรูแมน” ของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็นการเริ่มต้นของสงครามเย็นของทั้ง 2 ประเทศ นอกจากนี้ สหรัฐอเมริกายังประกาศแผนการมาร์แชล (Marshall Plan) เพื่อช่วยเหลือประเทศในแถบยุโรปในการฟื้นฟูเศรษฐกิจและการเมืองให้กลับมาแข็งแกร่งอีกครั้ง
ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ.1949 - 1990) ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ.1949 - 1990)
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ.1949 - 1990) หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง เยอรมนีถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน เยอรมนีเขตที่ปกครองโดยอังกฤษ, ฝรั่งเศส, สหรัฐอเมริกา จึงรวมเข้าด้วยกัน ตั้งเป็น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน (เยอรมันตะวันตก) ฝ่ายที่ปกครองโดยสหภาพโซเวียตก็กลายเป็น ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมันตะวันออก) ในปี ค.ศ.1949
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ปัญหาความขัดแย้งเกี่ยวกับเยอรมนี (ค.ศ.1949 - 1990) เมืองหลวง คือ กรุงเบอร์ลินออกเป็น 2 ส่วนด้วยเช่นกัน โดยสร้างกำแพงขึ้นกั้นระหว่างเบอร์ลินตะวันตก และ เบอร์ลินตะวันออก กำแพงเบอร์ลินนี้ถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็น หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ.1990 กำแพงเบอร์ลินได้ถูกทำลายลง เยอรมันทั้งสองประเทศก็ผนวกเข้าเป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งถือว่าเป็นการสิ้นสุดของสงครามเย็น
คอมมิวนิสต์ ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย เยอรมนีตะวันออก(East Germany) ชื่ออย่างเป็นทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (German Democratic Republic : GDR) เยอรมนีตะวันตก (West Germany) ชื่ออย่างเป็นทางการ : สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany : FRG) เมืองหลวง : บอนน์(Bonn) พื้นที่ : 248,577 ตร.กม. ประชากร : 63 ล้าน เมืองหลวง : เบอร์ลิน(ตะวันออก) พื้นที่ : 108,333 ตร.กม. ประชากร : 16 ล้านคน ในช่วงปี ค.ศ. 1949 - 1990 ประชาธิปไตย - ค.ศ. 1989 ทำลายกำแพงเบอร์ลิน - ค.ศ. 1990 รวมประเทศเยอรมันนีเป็นหนึ่งเดียว เยอรมนี (Germany) ชื่ออย่างเป็นทางการ : สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany) พื้นที่ : 357,050 ตร.กม. ประชากร 80 ล้านคน เมืองหลวง : เบอร์ลิน(Berlin) ปี ค.ศ. 1990 ถึง ปัจจุบัน
ประชาธิปไตย คอมมิวนิสต์ ประชาธิปไตย หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้จบลง นาซีเยอรมันได้พ่ายแพ้และล่มสลาย ประเทศเยอรมนีได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยเยอรมนีตะวันตกและเบอร์ลินตะวันตกถูกปกครองโดย ฝรั่งเศส อังกฤษ และ สหรัฐอเมริกา ส่วนเยอรมนีตะวันออกและเบอร์ลินตะวันออก ถูกครองโดย สหภาพโซเวียต ได้เป็นจุดเริ่มต้นของ สงครามเย็น เพราะสหภาพโซเวียตได้ให้ส่วนตะวันออกเป็นการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ ทำให้เกิดการแยกประเทศ และก่อตั้งกำแพงเบอร์ลินเพื่อไม่ให้ประชาชนชาวเยอรมันตะวันออกหลบหนีไปยังฝั่งตะวันตก 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 ในวันดังกล่าวชาวเยอรมันตะวันออกจำนวนมากได้มารวมตัวกัน ณ กำแพงเบอร์ลิน เพื่อข้ามผ่านแดนไปยังเบอร์ลินตะวันตกครั้งแรกในรอบ 28 ปี จึงถือเอาวันดังกล่าว เป็นวันล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน - 15 มกราคม ค.ศ. 1990 ชาวเยอรมันจำนวน 1.5 แสน ได้เดินขบวนที่เมืองไลพ์ซิก(Leipzig)เพื่อเรียกร้องให้มีการรวมเยอรมนีทั้ง 2 ฝ่ายเข้าด้วยกัน จากนั้นเยอรมนีตะวันออกก็มีการเลือกตั้งเสรีเป็นครั้งแรกในรอบ 40 ปี เมื่อได้นายกรัฐมนตรีใหม่แล้ว รัฐบาลเยอรมันทั้ง 2 ฝ่าย ก็ได้กำหนดตารางเวลาสำหรับการรวมประเทศด้านการเงิน เศรษฐกิจและสังคม หลังจากนั้นรัฐสภาของเยอรมนีตะวันออกได้ลงคะแนนเสียงสนับสนุนการรวมประเทศ - 31 สิงหาคม ค.ศ. 1990 ผู้แทนของรัฐบาลทั้ง 2 ฝ่ายได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญาการรวมประเทศโดยเยอรมนีตะวันออกยอมให้เยอรมนีตะวันตกเป็นผู้บริหารทั้งประเทศ ทำให้ประเทศเยอรมนีกลับมาเป็นประเทศอธิปไตยหนึ่งเดียวอีกครั้ง - 3 พ.ค. 1990 รวมประเทศอย่างเป็นทางการ ประชาธิปไตย
The Berlin Wall
The Berlin Wall
Berlin Wall
Berlin Wall
เครื่องบินสัมพันธมิตรขนส่งอาหารให้กับประชาชนในเบอร์ลินตะวันตก
กำแพงเบอร์ลินสร้างในปี ค. ศ กำแพงเบอร์ลินสร้างในปี ค.ศ. 1961 แบ่งเบอร์ลินตะวันตกและตะวันออก ออกจากกัน
Berlin Wall
Berlin Wall
สงครามเกาหลี (ค.ศ. 1950 – 1953)
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น สงครามเกาหลี ( ค.ศ.1950 – 1953 ) เกาหลีเหนือ (คอมมิวนิสต์) VS เกาหลีใต้ (ประชาธิปไตย) ผลของสงคราม 1. เกาหลีถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนที่เส้นขนานที่ 38 คือ เกาหลีเหนือ, เกาหลีใต้ 2. สหรัฐอเมริกาประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนคอมมิวนิสต์ และหันไปสนับสนุนจีนที่ไต้หวันแทน
สงครามอินโดจีน (ค.ศ.1946 - 1973)
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น สงครามอินโดจีน (ค.ศ.1946 - 1973) ภูมิภาคอินโดจีนในที่นี้ หมายถึง ประเทศเวียดนาม, กัมพูชา, ลาว หลังได้เอกราชจากฝรั่งเศส ก็กลายเป็นสมรภูมิแห่งสงครามตัวแทนของความขัดแย้งขึ้นในภูมิภาคนี้
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น เวียดนาม (ค.ศ.1946 -1973) การสู้รบระหว่างฝรั่งเศสและขบวนการเวียดมินห์ ที่นำโดยโฮจิมินห์ ชัยชนะของเวียดมินห์ทำอิทธิพลของฝรั่งเศสหมดลง หลังจากนั้นดินแดนทางเวียดนามเหนือที่นำโดโฮจิมินห์ต้องการปกครองประเทศตามระบอบคอมมิวนิสต์ และมีสหภาพโซเวียตและจีนคอมมิวนิสต์ให้ความช่วยเหลือ ส่วนเวียดนามใต้ต้องการการปกครองแบบประชาธิปไตย และมีสหรัฐอเมริกาให้ความช่วยเหลือ จนนำไปสู่สงครามเวียดนามในเวลาต่อมา โดยการต้องการรวมประเทศของเวียดนามเหนือ และ ต่างฝ่ายต่างได้รับการสนับสนุน จนในที่สุดเวียดนามเหนือก็รวมประเทศได้สำเร็จ และเป็นความพ่ายแพ้ที่สหรัฐอเมริกามีต่อฝ่ายคอมมิวนิวต์เป็นครั้งแรก
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเนื่องจากสงครามเย็น เวียดนาม (ค.ศ.1946 -1973) กรณีของเวียดนามแสดงให้เห็นถึงการที่สหรัฐอเมริกาเริ่มเข้ามามีบทบาทในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการที่จะสกัดกั้นการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สรุปภาพรวมช่วงสงครามเย็น สรุปภาพรวมช่วงสงครามเย็น การสร้างกำแพงเบอร์ลิน ค.ศ. 1961 สหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตเป็นสองอภิมหาอำนาจ ทวีปยุโรปถูกแบ่งแยกเป็น 2 ฝ่าย ประเทศเยอรมนีถูกแบ่งแยกเป็น 2 ประเทศ สหรัฐอเมริกาและพันธมิตรหวั่นเกรงว่าสหภาพโซเวียตจะยึดครองยุโรปและเอเชีย สหรัฐอเมริกาดำเนินนโยบายสกัดกั้นอิทธิพลของคอมมิวนิสต์ การปฏิวัติของคอมมิวนิสต์จีนผืนแผ่นดินใหญ่ ปี ค.ศ. 1949 จีนแสดงบทบาทเป็นผู้นำกลุ่มประเทศโลกที่ 3 หลังจากขัดแย้งกับ โซเวียต
ค.ศ. 1945-1960
ค.ศ. 1960 - 1991
วิกฤตการณ์คิวบา (Cuban Missile Crisis, 1962)
การล่มสลายของสหภาพโซเวียต - มิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นเป็นผู้นำของสหภาพโซเวียตคนสุดท้าย ในปี ค.ศ. 1985 - การนำนโยบายกลาสนอสต์ (การเปิดกว้างทางการเมือง) และเปเรสเตรอยกา (การวางโครงสร้างเศรษฐกิจใหม่) มาใช้ในโซเวียต - กลุ่มรัฐบาลทะเลบอลติก อันได้แก่ เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย แยกตัวออกไปเป็นเอกราชจากโซเวียต และต่อมาสาธารณะรัฐทยอยแยกตัวออกจากโซเวียต (กลายเป็น 15 สาธารณรัฐ) - ค.ศ. 1991 กอร์บาชอฟโอนอำนาจการบริหารทั้งหมดให้กับประธานาธิบดี แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย และธงชาติสหภาพโซเวียตได้ถูกเชิญลงจากยอดเสาที่พระราชวังเครมลิน อันเป็นการสิ้นสุดสหภาพโซเวียตอย่างสมบูรณ์ (สหภาพโซเวียตล่มสลายลงอย่างเป็นทางการ) - สหภาพโซเวียต ล่มสลายในปี 1991 ทำให้สาธารณะรัฐต่างๆ แบ่งแยกตั้งเป็นประเทศทั้งหมด 15 ประเทศ (รัสเซีย + 14 สาธารณรัฐ)
Before 1991
ช่วงสงครามเย็น เหมาเจ๋อตุงนำการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองในจีนมาเป็นคอมมิวนิสต์ การขยายขยายลัทธิคอมมิวนิสต์ของฝ่ายโซเวียต การดำเนินนโยบายสกัดกั้นลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหรัฐอเมริกา ใช้สงครามตัวแทน(Poxy war)ช่วงชิงความได้เปรียบระหว่างกันในกลุ่มประเทศโลกที่สาม การเผชิญหน้าในวิกฤตการร์คิวบา (ค.ศ. 1962) สหรัฐอเมริกาเพลี่ยงพล้ำในสงครามเวียดนามและต้องถอนตัวออกจากสงคราม (ค.ศ. 1975) สหภาพโซเวียตบุกอัฟกานิสถานและต้องถอนตัวออกจจากอัฟกานิสถาน(ค.ศ. 1979-1989) สหรัฐอเมริกาเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางทหารและวิทยาศาสตร์ ประชาธิปไตยเบ่งบานและคอมมิวนิสต์เหี่ยวเฉาช่วงปลายสงครามเย็น สหภาพโซเวียตล่มสลาย เป็นจุดสิ้นสุดช่วงสงครามเย็น