การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Presentation slide for courses, classes, lectures et al.
Advertisements

By Thanitsorn Chirapornchai
What is MEQ Workshop on “MEQ Examination for Preclinical Years”
1 หัวใจหาคู่.. แรก... รู้จัก เพื่อนรัก.. Buddy 2 Part 1Conceptual Background Productivity & Myself Part 2IE Techniques for Productivity Improvement Part.
TOXICOLOGY - สัตว์ทดลอง (experiment) ๏ acute ๏ sub-acute (sub-chronic)
Control Statements.
Microprocessor and Interfacing Introduction
Microprocessor and Interfacing
Chapter 01 Problem-Solving Concept แนวคิดการแก้ปัญหา
English for Graduate Studies *** ภาวะผู้นำด้านการบริหาร
Annual Reviews โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร Book Promotion & Service Co.,Ltd.
ทางบริษัทแพสคอนส์ได้จัดหลักสูตรอบรมสัมมนา Effective Outsource Supplier Management ในวัน ศุกร์ที่ 24 กรกฎาคม 2558 ที่ โรงแรม ลันตา รีสอร์ท ( รัชดาภิเษก.
Course Introduction Advanced Information Modeling and Database System แบบจำลองสารสนเทศและระบบฐานข้อมูลขั้นสูง Monday – 16.00?
Microprocessor and Interfacing
มาตรฐานงานสุขศึกษา &โปรแกรมประเมิน.
Database Planning, Design, and Administration
Information System Development
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
การบำบัดรักษาทางสังคมจิตใจ สำหรับผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ในการอบรมการบริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ หลักสูตรกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
Client/Server Computing and Web Technologies (2-0-4)
Case Study : 12 จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์เกินราคามาตรฐานครุภัณฑ์ จัดซื้อเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ ความสว่าง 3,500 ANSI Lumens พร้อมติดตั้ง จำนวน 1 ชุด.
(Seminar in Marketing) ผศ.ดร. พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
การประเมินผลงานวิชาการ และการขอรับเงิน พ.ต.ก.
for Display Antique and Art Object Information
Student activity To develop in to the world community
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
ปรัชญา วิสัยทัศน์ ปณิธาน พันธกิจ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ความต้องการสารสนเทศ (Information need)
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การกำหนดประเด็นปัญหา
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
การนำเสนอผลงานวิจัยด้วยวาจา (oral presentation)
รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์สากล
การสอบสวนโรค เฉพาะราย
เจาะลึก google หลักการทำงานของ search engine
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
Data Structures & Algorithms Using Python
Data Structures & Algorithms Using Python
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
การบริหารกล้ามเนื้อปากและใบหน้า Oral – motor exercise
บทบาทของกรมการปกครองกับ กระบวนการยุติธรรมทางเลือก (Alternatives to Justice) โดย..วรวิทย์ ยอแสงนอ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
งานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์
MK. 325 การจัดซื้อ ( Purchasing )
Case Study เพื่อพัฒนาทักษะที่สูงขึ้น (Advance) ครั้งที่ 1
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
Program Evaluation Achakorn Wongpreedee, Ph.D.
Distributed Computers and Web Technologies (3-0-6)
มนุษยสัมพันธ์ ในการทำงาน
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
เทคนิคการนำเสนอ อย่างมืออาชีพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) คือ การสอบเพื่อวัดความรู้ ความสามารถของนักศึกษา ในการนำหลักวิชาการ (ทฤษฎี แนวคิด) และประสบการณ์ ในการเรียนระดับบัณฑิตศึกษาไปประยุกต์ใช้

ลักษณะของการสอบประมวลความรู้ 1. ข้อเขียน (Written) 2. ปากเปล่า (Oral) บางสาขา/ คณะ/มหาวิทยาลัยอาจมีการดำเนินการสอบประมวลความรู้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือใช้ทั้งสองลักษณะร่วมกัน

ความครอบคลุมของการสอบประมวลความรู้ ทุกรายวิชาที่ต้องเรียนหรือกำหนดไว้ในหลักสูตร หรือเฉพาะวิชาแกนอันเป็นหัวใจของแต่ละสาขา หรือหลักสูตร

ขอบเขตของการสอบประมวลความรู้ ในแต่ละสาขา/หลักสูตรมักมีขอบเขตของการสอบโดยเน้นให้ นักศึกษานำทฤษฎีหลัก ๆ ที่เป็นทฤษฎีแกนของสาขา มาประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง

ข้อแนะนำสำหรับการเตรียมตัวสอบ ต้องศึกษาทบทวนแต่ละกระบวนวิชาหรือวิชาแกนของหลักสูตร เริ่มจากศึกษา ……. คำอธิบายรายวิชา Course description หาคำสำคัญ Keywords ของกระบวนวิชานั้น ๆ หาทฤษฎี/แนวคิดที่สำคัญ (Main theories/concepts) ในกระบวนวิชานั้น ๆ พร้อมกันนั้นให้วิเคราะห์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคม ที่เกี่ยวข้องกับสาขาหรือหลักสูตรที่กำลังศึกษาอยู่

ต้องวิเคราะห์ เพื่อนำเอาทฤษฎี แนวคิด หลักการมาแก้ไข ปัญหานั้น ๆ เขียนเป็นร่างก่อน แล้วหัดแต่งข้อสอบ แล้วตอบคำถาม ให้อ่านตรวจทานหลาย ๆ รอบ ถ้าเขียนได้เชื่อมโยงสละสลวย อ่านแล้วจะรื่น ๆ ถ้าเขียนไม่ดี อ่านแล้วจะสะดุด

เกณฑ์ในการวัดทักษะ 1. ทักษะในการกำหนดประเด็นปัญหา (Ability to identify problems) ต้องสามารถระบุปัญหาที่สำคัญในปรากฏการณ์ทางสังคม (Social Phenomena) หรือกรณีศึกษา (Case study) ที่กำหนดให้ศึกษา พร้อมระบุสาเหตุของปัญหานั้น ๆ ได้

ในการแก้ปัญหา 2. ทักษะในการกำหนดหาทางเลือก (Ability to propose alternatives solutions) ต้องสามารถเสนอทางเลือกในการแก้ไขปัญหาได้ ซึ่งอาจมีทางเลือกมากกว่าหนึ่งอย่าง โดยต้องแสดงความรู้อย่างมีความคิดสร้างสรรค์ พร้อมทั้งชี้เหตุผลและอธิบายวิธีการของแต่ละทางเลือกได้อย่างเหมาะสม

3. ทักษะในการคิดวิเคราะห์และตัดสินใจ (Ability to analyze & select the best alternative) ต้องมีการวิเคราะห์และตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหานั้น ๆ โดยต้องทำการเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของทางเลือกทั้งหมดในเชิงข้อมูลปริมาณและคุณภาพ ให้ชัดเจน ตลอดจนสรุปได้ว่าทางเลือกไหนดีที่สุด

4. ทักษะในการนำเสนอด้วยวิธีการเขียน (Ability for written presentation) การนำเสนอในรูปของการเขียนรายงาน จะต้องมีการจัดลำดับการเขียนเนื้อหาที่กล่าวมาทั้งหมดอย่างเป็นลำดับขั้นตอน และคำนึงถึงความสะดวกในการตรวจด้วย

รองคณบดีฝ่ายจัดการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ผู้มีประสบการณ์ เช่น รองคณบดีฝ่ายจัดการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ รศ. ดร. เกียรติสุดา สินสุข ได้แนะนำว่า ในแต่ละสาขาวิชานักศึกษาต้องดูที่เป้าหมาย ปรัชญาของหลักสูตรว่าต้องการอะไร เพราะกระบวนการสร้างแต่ละหลักสูตรมีการกำหนดเป้าหมายบัณฑิตว่า ต้องการให้มีคุณลักษณะอย่างไร แล้วดำเนินการสร้างหลักสูตร – วิชาแกน - รายวิชา .ให้สอดรับกัน

สาเหตุที่สอบประมวลความรู้ไม่ผ่าน 1. จับหัวใจสำคัญของหลักสูตรที่เรียนไม่ได้ 2. คำตอบที่เขียนไม่ครอบคลุม แคบเกินไป 3. ทักษะการนำเสนอ ไม่ว่าการเขียน การพูด ขาดการจัดลำดับ ขั้นตอน (ไม่เตรียมตัว ไม่ฝึกซ้อมการคิดวิเคราะห์มาล่วงหน้า)

4. ด้วยมีการให้คะแนนเป็นกลุ่ม หาค่าเฉลี่ย บางคนจัดการในการตอบไม่ดี เช่น ไม่ตอบทุกข้อ หรือให้น้ำหนักข้อใดข้อหนึ่งเกินไป 5. ขาดการเตรียมตัวที่ดี ไม่อ่านทบทวนเนื้อหาวิชาแกนของหลักสูตร ตลอดจนปรากฏการณ์ในสังคม 6. ขาดการวิเคราะห์ ทฤษฎี แนวคิด ให้ไปเชื่อมโยงกับปัญหาหรือปรากฏการณ์ในสังคม

การสอบข้อเขียน มีหลายรูปแบบแล้วแต่สาขาวิชาจะกำหนด สำหรับ รป.ม. มี 2 ข้อ 1. เกี่ยวกับงานวิจัย (โครงร่าง I.S.) 2. เกี่ยวกับเนื้อหาหลักที่เรียน

การออกข้อสอบเกี่ยวกับงานวิจัย ตัวอย่างคำถาม 1. หัวข้อวิจัยที่ท่านทำการศึกษา ที่ผ่านการอนุมัติจากคณะกก.หลักสูตร 1.1 สาเหตุสำคัญที่ท่านสนใจศึกษาเรื่องนี้ เพราะอะไร มีวัตถุประสงค์และสมมติฐานในการศึกษาอย่างไร 1.2 แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ให้บรรยายพอสังเขป และจงบอกว่าแนวคิดทฤษฎีดังกล่าวสามารถนำไปสู่คำตอบและตอบสมมติฐานได้อย่างไร

การตอบข้อเขียนเกี่ยวกับงานวิจัย - คำถามของส่วนนี้ออกสอบเหมือนกันทุกครั้ง - เป็นสิ่งที่แต่ละคนต้องนำโครงร่างวิจัยมาเขียนตอบ - ควรฝึกเขียนให้มีความเชื่อมโยงกัน - ต้องตอบวัตถุประสงค์ได้ ตอบสมมติฐานได้ - ถ้างานวิจัยไม่มีสมมติฐานก็ไม่ต้องตอบข้อนี้ ปกติเป็นงานเชิงคุณภาพ (สัมภาษณ์)

การออกข้อสอบเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาหลัก ตัวอย่างคำถาม - ระบบราชการปัจจุบันของไทยเป็นอย่างไร อุปสรรคมีอย่างไร ถ้าจะพัฒนาต้องทำอย่างไร จะใช้แนวคิดอะไรมาอธิบาย

ข้อสอบเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาหลัก - ข้อสอบมักเป็นสถานการณ์ปัจจุบัน - ข้อสอบจะถามถึงเนื้อหาวิชาหลัก ประกอบด้วย 1) นโยบายสาธารณะ 2) การเงินการคลัง (การคลังภาครัฐ) 3) การจัดการองค์กร 4) การบริหารงานบุคคล หรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์

การตอบข้อสอบเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาหลัก 1. ใช้แนวคิด ทฤษฎี หรือตัวแบบ 2. ใช้สถานการณ์ที่เป็นอยู่จริง เช่น นโยบายรัฐบาลชุดปัจจุบัน หรือสถานการณ์การเมืองที่เชื่อมโยงภาครัฐในปัจจุบัน 3. วิเคราะห์ข้อเท็จจริง 4. บอกข้อดีข้อเสียได้ 5. มีข้อเสนอแนะ

ตัวอย่างการตอบข้อสอบเกี่ยวกับการคลังภาครัฐ 1. ใช้ทฤษฎีลูกโป่งของ ดร.ป๋วย 2. ใช้แนวคิดของ Musgrave 3. ใช้นโยบายของรัฐบาล เช่น โครงการต่าง ๆ 4. วิเคราะห์ 5. ข้อดี ข้อเสีย 6. ข้อเสนอแนะ 7. สรุป

ตัวอย่างการตอบข้อสอบเกี่ยวกับ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 1. ใช้หลักอุปถัมภ์ คุณธรรม หรือการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2. ใช้แนวคิดตาม พรบ.ข้าราชการพลเรือนฉบับปัจจุบัน 3. วิเคราะห์ 4. ข้อดี ข้อเสีย 5. ข้อเสนอแนะ 6. สรุป

ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะ 1. การแบ่งเวลาในการทำข้อสอบแต่ละส่วน 2. การเรียงลำดับเนื้อหา 3. ลายมือต้องเขียนตัวโต ให้อ่านง่าย 4. การใช้ keyword หรือถ้อยคำสำคัญ หากขีดเส้นใต้จะชัดเจนขึ้น 5. เมื่อขึ้นเนื้อหาส่วนใหม่ ควรย่อหน้าให้ชัดเจน 6. ควรมีความเป็นตัวของตัวเองในการตอบ 7. ควรมีข้อมูลในการตอบด้วยการติดตามข่าว อ่านหนังสือพิมพ์ อ่านเว็บไซต์ หรือบทความทางวิชาการ