เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Electronic Circuits Design
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
RESONANCE CIRCUITS - IMPEDANCE REVIEW
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
รหัส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 3 (10)
การทำ Normalization 14/11/61.
Gas Turbine Power Plant
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ครั้งที่4-5วิชาวาดเส้นTV การวาดหน้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
แผ่นดินไหว.
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
Tree.
Benjamin Franklin เบนจามิน แฟรงคลิน
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter Piyadanai Pachanapan, 303251 EE Instrument & Measurement, EE&CPE, NU

เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้าทางไฟฟ้ากำลัง วัดความถี่ระดับ 50 / 60 Hz แบ่งเป็น 3 ประเภท ตามลักษณะการทำงาน ชนิดก้านสั่น (Vibrating Reed Frequency Meter) 2. ชนิดจานหมุน (Moving-Disk Frequency Meter) 3. ชนิดมูฟวิ่งเวน (Moving-Iron Vane Frequency Meter)

เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้าชนิดก้านสั่น โครงสร้างของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดก้านสั่น

ก้านสั่น แผ่นเหล็กบางๆ ที่จะตอบสนองต่อความถี่ตามธรรมชาติไม่เท่ากัน การสร้างให้ก้านสั่นแต่ละก้านมีความถี่ตามธรรมชาติแตกต่างกัน ทำได้ 2 วิธี คือ ทำให้ความยาวไม่เท่ากันในแต่ละก้าน 2. มีน้ำหนักถ่วงไม่เท่ากันในแต่ละก้าน

ความยาวไม่เท่ากัน น้ำหนักถ่วงไม่เท่ากัน

หลักการทำงาน เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้าชนิดก้านสั่น เมื่อจ่ายกระแสสลับเข้าไปที่ขดลวด จะเกิดอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าที่แกนเหล็กอ่อน ขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าที่แกนเหล็กอ่อน จะเปลี่ยนแปลงตามทิศทางของกระแสสลับ อำนาจแม่เหล็กไฟฟ้านี้ จะดูดและปล่อยก้านสั่นทำให้ก้านสั่นเกิดการสั่นไปมาได้

รูปคลื่นกระแสสลับเปลี่ยนแปลงถึงตำแหน่ง 90o

2. รูปคลื่นกระแสสลับเปลี่ยนแปลงถึงตำแหน่ง 180o

3. รูปคลื่นกระแสสลับเปลี่ยนแปลงถึงตำแหน่ง 270o

4. รูปคลื่นกระแสสลับเปลี่ยนแปลงถึงตำแหน่ง 360o

สรุป ใน 1 รอบ ก้านสั่นจะถูกดูด 2 ครั้ง และ ถูกปล่อย 2 ครั้ง 2. ใน 50 รอบ (50 Hz) ก้านสั่นจะถูกดูด 100 ครั้ง และ ถูกปล่อย 100 ครั้ง  ก้านสั่นสวิงไปมา 3. ก้านสั่นที่ตอบสนองต่อความถี่เกิดขึ้นที่สุด จะมีการสั่นมากที่สุด

ตอบสนองการสั่นได้ดีที่สุด

เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้าชนิดจานหมุน (เหนี่ยวนำ) มีลักษณะเหมือนเครื่องวัดไฟฟ้าแบบเหนี่ยวนำ http://www.tpub.com/content/neets/14175/css/14175_64.htm

การทำงาน ของเครื่องวัดความถี่ไฟฟ้าชนิดจานหมุน ค่า Reactance จากตัว L (XL) ในขดลวด B จะเปลี่ยนแปลงตามความถี่ของสัญญาณที่จ่ายเข้ามาในวงจร ค่า XL ที่เปลี่ยนแปลงจะส่งผลให้กระแสที่ไหลผ่านขดลวด B (IB) เปลี่ยนแปลงไปด้วย (XL มากขึ้น  IB น้อยลง) จานหมุนจะหมุนตามทิศของขดลวด ที่มีความเข้มสนามแม่เหล็กที่มากกว่า

ความถี่มากขึ้น  XL มากขึ้น  IB น้อยลง  B น้อยลง  จานหมุน หมุนตามขดลวด A

เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้าชนิด Moving Iron Vane

ส่วนประกอบ มีเข็มชี้ติดกับ Moving Iron Vane มี Fixed Coil 2 ชุด ทำมุม 90o โดยที่ ชุดหนึ่งจะมี R, L อีกชุดจะมี R, C

หลักการทำงาน เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้าชนิด Moving Iron Vane การหมุนของเข็มชี้ จะขึ้นกับความเข้มของสนามไฟฟ้า ซึ่งจะขึ้นกับกระแสที่ไหลในขดลวด Fixed Coil เมื่อความถี่เปลี่ยน จะส่งให้รีแอคแตนซ์ใน Fixed Coil เปลี่ยนด้วย Reactance เปลี่ยน  กระแส เปลี่ยน  ความเข้มสนามไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง

กรณี ความถี่เพิ่มขึ้น ค่า Reactance (X) ใน Fixed Coil จะมากขึ้น กระแสที่ไหลผ่าน Fixed Coil ที่มีตัว C จะมากขึ้น กระแสที่ไหลผ่าน Fixed Coil ที่มีตัว L จะน้อยลง ความเข้มของสนามไฟฟ้าใน Fixed Coil ที่มี C จะมากกว่า เข็มชี้จะถูกดึงดูดให้เบี่ยงเบนในทิศทางของ Fixed Coil ที่ต่อ C

กรณี ความถี่ลดลงขึ้น ค่า Reactance (X) ใน Fixed Coil จะลดลง กระแสที่ไหลผ่าน Fixed Coil ที่มีตัว C จะน้อยลง กระแสที่ไหลผ่าน Fixed Coil ที่มีตัว L จะมากขึ้น ความเข้มของสนามไฟฟ้าใน Fixed Coil ที่มี L จะมากกว่า เข็มชี้จะถูกดึงดูดให้เบี่ยงเบนในทิศทางของ Fixed Coil ที่ต่อ L

การวัดความถี่ไฟฟ้าโดยใช้ Wien Bridge เมื่อบริดจ์สมดุล

พิจารณาเฉพาะส่วนจริง(Real)

พิจารณาเฉพาะส่วนจินตภาพ (Imaginary) หาความถี่ได้เป็น

จาก ถ้าออกแบบให้ บริดจ์สมดุลเมื่อ สามารถหาความถี่ของสัญญาณได้เป็น