ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, Power System Design, EE&CPE, NU

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกณฑ์ กว เดิม นศ. ก่อนรุ่น 2546 เกณฑ์สภาวิศวกร นศ. รุ่น 2546 เป็นต้นไป
Advertisements

Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Introduction to Flowchart
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
การประชุมบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ ประจำภาคเรียนที่ 2/2556 วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ. ศ ณ ห้องประชุมทางไกล SC1218 และ SC216.
ระบบจัดการไร่อ้อย Sugarcane Farm Management System จัดทำโดย นายที่รัก ช่วยจันทร์ รหัส นายสถาพร นิลทับ รหัส นายชนาธิป อักกุลดี
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
COMPUTER GRAPHIC DESIGN
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ทีมงานแก้ปัญหาร้านค้าที่ส่งผลกับกำลังการผลิตของผู้รับเหมา
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE, NU
ที่ว่างเพื่อการปฏิบัติงาน
ความรู้พื้นฐานกล้องไอพี
ความปลอดภัยจาก ไฟฟ้า นายนภดล ชัยนราทิพย์พร.
Electrical Wiring & Cable
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 1)
Piyadanai Pachanapan, Electrical System Design, EE&CPE, NU
การปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ ๔ และสูงกว่า
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
จุดมุ่งหมายของการเขียนแบบ
พื้นฐานการออกแบบระบบไฟฟ้า
โดย อ.พัฒนพงษ์ โพธิปัสสา
การวิเคราะห์ระบบงาน ขั้นตอนวิเคราะห์ จะเริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงาน
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
ตารางที่ ก.5 ปริมาณเหล็กเสริมและค่าสัมประสิทธิ์ต้านแรงดัด
พลังงาน (Energy).
(Smart Strategy Praboromarajchanok Institute: SSPI)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ และ (ฉบับที่
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต Environment, Technology and Life
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
ศิลปะการทำงานอย่างมีความสุข
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
การพัฒนาการจัดการ และมาตรฐานการบริการ
อัลกอริทึม (Algorithm ) ขั้นตอนวิธี
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
เรื่องอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
งาน (Work) คือ การออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้ววัตถุ
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
โครงการชลประทานมุกดาหาร Work Smart Award 2017 สำนักงานชลประทานที่ 7
มาตรฐานสำหรับการออกแบบระบบไฟฟ้า Standard of Power System Design
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
การถอดบทเรียน แนวทางการจัดทำวิจัย เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง
อุทธรณ์,ฎีกา.
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
โดย ศาสตราจารย์ระพีพรรณ คำหอม
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
“ ทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุน
PERT Diagram.
การลัดวงจรในระบบไฟฟ้ากำลัง Fault in Power System
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, 303426 Power System Design, EE&CPE, NU สัญลักษณ์และแบบทางระบบไฟฟ้า Electrical Symbols & Electrical Diagram ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, 303426 Power System Design, EE&CPE, NU

สัญลักษณ์และแบบทางไฟฟ้า ในการออกแบบระบบไฟฟ้า จะต้องใช้สัญลักษณ์แทนอุปกรณ์ทั้งหมดในระบบ เพื่อสื่อให้ผู้ใช้งานมีความเข้าใจตรงกับผู้ออกแบบ เพื่อให้งานเป็นไปอย่างถูกต้องตรงกับที่ผู้ออกแบบได้ออกแบบไว้

สัญลักษณ์ของดวงโคม ในระบบแสงสว่าง

สัญลักษณ์ของเต้ารับ

สัญลักษณ์ของเต้ารับพิเศษ

ตัวอย่าง สัญลักษณ์เทียบกับอุปกรณ์จริง (1)

ตัวอย่าง สัญลักษณ์เทียบกับอุปกรณ์จริง (2)

ชนิดของเต้ารับที่ใช้งานจริง

สัญลักษณ์ของสวิตช์

ตัวอย่างการทำงานของสวิตช์ (1)

ตัวอย่างการทำงานของสวิตช์ (2)

สัญลักษณ์การเดินสายไฟฟ้า

สัญลักษณ์อื่นๆ (1)

สัญลักษณ์อื่นๆ (2)

สามารสัญลักษณ์อื่นๆ เพิ่มเติมได้ แต่ต้องมีการอธิบายไว้ให้เข้าใจอย่างละเอียด

การแปลงแบบไฟฟ้า  ไดอะแกรมการต่อวงจร  ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้ง

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้ง  การเดินสายติดตั้งจริง

ตัวอย่างการติดตั้งสวิตช์

ตัวอย่างการติดตั้งสวิตช์ (3 Ways Switch)

ตัวอย่างการติดตั้งอุปกรณ์ในระบบไฟฟ้า

ตัวอย่าง 1 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป วิธีทำ ระบบประกอบด้วย สวิตช์ทางเดียว (Sa) 1 ตัว ดวงโคมติดเพดาน 1 ดวง เดินสายจากแผงไฟย่อย LC 1 วงจร แบบ 1 เฟส สัญลักษณ์สายไม่มีขีด แสดงว่ามีสาย 2 เส้นในท่อเดินสาย

เขียนไดอะแกรมการต่อวงจรได้เป็น

เขียนไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงได้เป็น

ตัวอย่าง 2 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป วิธีทำ ระบบประกอบด้วยสวิตช์ทางเดียว 1 ตัว ควบคุม การเปิด – ปิด โคมไฟ 2 ดวงพร้อมกัน

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 2

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 2

ตัวอย่าง 3 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป

วิธีทำ สวิตช์ทางเดียว (Sa) ต่อกับดวงโคม a สวิตช์ทางเดียว (Sb) ต่อกับดวงโคม b มีการเดินสายไฟจากแผงจ่ายไฟย่อย (LC) 1 วงจร คือ วงจรที่ 1 (เฟส A)

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 3

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 3

ตัวอย่าง 4 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป

วิธีทำ สวิตช์ทางเดียว (Sa) ต่อกับดวงโคม a สวิตช์ทางเดียว (Sb) ต่อกับดวงโคม b มีการเดินสายไฟจากแผงจ่ายไฟย่อย (LC) 2 วงจร คือ วงจรที่ 1 (เฟส A) และ วงจรที่ 3 (เฟส B) มีการแยกสายนิวทรอล (ดูจากแผงจ่ายไฟย่อยใช้ 4 สาย)

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 4

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 4

ตัวอย่าง 5 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป

วิธีทำ สวิตช์ 3 ทาง (S3a) จำนวน 2 ตัว สวิตช์ 4 ทาง (S4a) จำนวน 1 ตัว มีการเดินสายไฟจากแผงจ่ายไฟย่อย (LC) 1 วงจร คือ วงจรที่ 1 (เฟส A)

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 5

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 5

ตัวอย่าง 6 จงแสดงไดอะแกรมการต่อวงจร และ ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของระบบในรูป

วิธีทำ สวิตช์ทางเดียว (Sa) ต่อกับดวงโคม a จำนวน 2 ดวง สวิตช์ทางเดียว (Sb) ต่อกับดวงโคม b จำนวน 2 ดวง สวิตช์ทางเดียว (Sc) ต่อกับดวงโคม c จำนวน 2 ดวง มีการเดินสายไฟจากแผงจ่ายไฟย่อย (LC) 3 วงจร คือ วงจรที่ 1 (เฟส A) วงจรที่ 3 (เฟส B) วงจรที่ 5 (เฟส C) ใช้สายนิวทรอลร่วมกัน (ดูจากแผงจ่ายไฟย่อยใช้ 4 สาย)

ไดอะแกรมการต่อวงจรของตัวอย่างที่ 6

ไดอะแกรมการเดินสายติดตั้งจริงของตัวอย่างที่ 6

Home Work เขียนแบบห้องพัก / บ้าน ของนิสิต พร้อมสัญลักษณ์ไฟฟ้าของอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เขียนไดอะแกรมการต่อและเดินสาย จากแบบที่วาด ส่งวันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน 2549

End Of Section