อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบ ของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบ ของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline การเชื่อมต่อเครือข่าย (Line Configuration) รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies)

การเชื่อมต่อเครือข่าย (Line Configuration) หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างอุปกรณ์สื่อสารที่ สื่อสารไปตามแนวเส้นทาง หรือที่เรียกว่า “ลิงก์” (Link) ลิงก์หมายถึงเส้นทางการสื่อสารเพื่อถ่ายโอนข้อมูล จากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง มี 2 รูปแบบ คือ 1) การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) 2) การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multi-Point/Multi- Drop)

การเชื่อมต่อเครือข่าย (Line Configuration) : การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point-to-Point) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์สองตัว โดย ช่องทางถูกจับจองไว้เพื่อการสื่อสารระหว่างสอง อุปกรณ์เท่านั้น อาจเป็นระบบใช้สาย หรือไร้สาย ก็ได้

การเชื่อมต่อเครือข่าย (Line Configuration) : การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multi-Point/Multi-Drop) มีอุปกรณ์มากกว่าหนึ่งอุปกรณ์ที่สามารถใช้ลิงก์ ร่วมกันเพื่อการสื่อสารได้ วิธีการเชื่อมต่อแบบหลายจุดทำให้ประหยัดสาย สื่อสารได้ แต่ต้องควบคุมการรับส่งข้อมูลไม่ให้ชน กันได้ เป็นวิธีการที่ใช้ในเครือข่ายส่วนใหญ่ในปัจจุบัน

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายในลักษณะกายภาพ (Physical Topology) สามารถแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ คือ โทโพโลยีแบบบัส (Bus Topology) โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology) โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology)

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) : โทโพโลยีแบบบัส (Bus Topology) เป็นรูปแบบที่ง่าย ประกอบด้วยเคเบิลเส้นหนึ่งที่ใช้ เป็นสายแกนหลักที่เปรียบเสมือนกระดูกสันหลัง (Backbone) ทุกๆโหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมต่อ เข้ากับเคเบิลเส้นนี้ Terminator Terminator

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) : โทโพโลยีแบบบัส (Bus Topology) [2] ข้อดี ข้อเสีย มีรูปโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน ติดตั้งง่าย หากสายเคเบิลที่เป็นแกนหลักชำรุดเสียหาย เครือข่ายจะหยุดชะงักในทันที เพิ่มจำนวนโหนดได้ง่าย โดยสามารถเชื่อมต่อเข้ากับสายแกนหลักได้ทันที กรณีเกิดข้อผิดพลาดบนเครือข่าย จะค้นหาจุดผิดพลาดได้ยาก เนื่องจากทุกอุปกรณ์เชื่อมโยงเข้ากับสายแกนหลักทั้งหมด ประหยัดสายสื่อสาร เนื่องจากใช้สายแกนหลักเพียงเส้นเดียว ระหว่างโหนดแต่ละโหนดจะต้องมีระยะห่างตามข้อกำหนด

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) : โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology) จุดเริ่มต้นของโทโพโลยีแบบดาวมาจากการเชื่อมต่อ เทอร์มินัลกับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันอุปกรณ์ที่นิยมนำมาใช้เป็นศูนย์กลางการ ควบคุมของสายสื่อสารทั้งหมดคือ ฮับ (Hub) โดย ทุกๆโหนดบนเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงผ่านฮับ ทั้งสิ้น แก้ปัญหาจากการเชื่อมต่อแบบบัส เพื่อให้ระบบมี ความคงทนมากยิ่งขึ้น แต่การกระจายของข้อมูลยัง ทำงานเช่นเดียวกับแบบบัส เพราะพอร์ตทุกพอร์ต บนฮับเชื่อมต่อเข้ากับบัสเส้นเดียวกัน เป็นรูปแบบที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบัน

โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology)

ภาพจำลองเส้นทางภายในของ Switching Hub

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) : โทโพโลยีแบบดาว (Star Topology) [2] ข้อดี ข้อเสีย มีความคงทนสูง หากเคเบิลเส้นใดชำรุด จะส่งผลกระทบกับโหนดนั้นเท่านั้น โหนดอื่นๆยังใช้งานได้ตามปกติ สิ้นเปลืองสายเคเบิล เพราะต้องใช้จำนวนสายเท่ากับเครื่องที่เชื่อมต่อ การดูแลรักษามีความสะดวก เพราะมีจุดศูนย์กลางควบคุมอยู่ที่ฮับ กรณีต้องการเพิ่มโหนด ฮับจะต้องมีพอร์ตว่างให้เชื่อมต่อ หากฮับชำรุด คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับฮับจะใช้งานไม่ได้ทั้งหมด

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) : โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) โหนดต่างๆจะมีการเชื่อมต่อกันด้วยสายสัญญาณ จากโหนดหนึ่งไปยังอีกโหนดหนึ่งต่อกันไปเรื่อยๆ จนกระทั่งโหนดแรกและโหนดสุดท้ายได้เชื่อมโยงถึง กัน จึงเกิดเป็นลูปวงกลมหรือวงแหวนขึ้น การส่งสัญญาณจะส่งในทิศทางเดียวกัน หากโหนด ใดได้รับสัญญาณก็จะส่งไปยังโหนดถัดไปเรื่อยๆ เมื่อส่งข้อมูลถึงปลายทางแล้ว โหนดปลายทางก็จะ คัดลอกข้อมูลเก็บไว้

โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology)

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) : โทโพโลยีแบบวงแหวน (Ring Topology) [2] ข้อดี ข้อเสีย แต่ละโหนดในวงแหวนมีโอกาสส่งข้อมูลได้เท่าเทียมกัน หากลิงก์ในวงแหวนชำรุดที่จุดใดจุดหนึ่ง จะส่งผลกระทบต่อระบบทั้งหมด ประหยัดสายสัญญาณ โดยใช้สายสัญญาณเท่ากับจำนวนโหนดที่เชื่อมต่อ ตรวจสอบได้ยาก ในกรณีที่มีโหนดใดโหนดหนึ่งขัดข้อง เนื่องจากต้องตรวจสอบทีละจุด ง่ายต่อการติดตั้ง และการเพิ่ม-ลบจำนวนโหนด

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) : โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology) เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดอย่างแท้จริง แต่ละ โหนดจะมีลิงก์สื่อสารระหว่างกันเป็นของตนเอง สำหรับจำนวนสายสัญญาณที่จะต้องใช้ทั้งหมดใน โทโพโลยีแบบฟูลเมช (Full Mesh) สามารถ คำนวณได้จากสมการ C𝑜𝑛𝑛𝑒𝑐𝑡𝑖𝑜𝑛= 𝑁 2 −𝑁 2 โดยที่ N คือจำนวนของโหนดในเครือข่าย

โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology)

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย (Topologies) : โทโพโลยีแบบเมช (Mesh Topology) [2] ข้อดี ข้อเสีย เนื่องจากเป็นการเชื่อมต่อโดยตรงระหว่างโหนด ดังนั้นจึงใช้แบนด์วิดธ์ได้เต็มที่ ไม่มีโหนดใดมาแชร์การใช้งาน เป็นรูปแบบที่สิ้นเปลืองสายสื่อสารมากที่สุด ส่งผลให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมาก มีความปลอดภัยและเป็นส่วนตัวในข้อมูลที่สื่อสารระหว่างโหนด สิ้นเปลืองอินเตอร์เฟซของอุปกรณ์เครือข่ายอย่างมาก ระบบมีความคงทนต่อความผิดพลาด (Fault-Tolerant) เพราะหากมีลิงก์ใดเสียหาย จะสามารถเลี่ยงไปใช้ลิงก์อื่นได้

เครือข่ายที่มีหลายโทโพโลยีมาเชื่อมต่อร่วมกัน เรียกว่า “ไฮบริดโทโพโลยี” (Hybrid Topology) Bus Bus Star Ring Star