ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ คะแนนปฏิบัติ 20 คะแนนสอบกลางภาค 30 คะแนนสอบปลายภาค 50 1. ดร. ศุภโยธิน ณ สงขลา Lab ปฏิบัติ Lab ต่อวงจรจริง 10 Lab SPICE 10
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ บทที่ 7 วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ วงจรเรียงสัญญาณความแม่นยำสูง วงจรปรับอัตราขยายอัตโนมัติ ออปแอมป์ที่มีการป้อนกลับแบบบวก วงจรชมิตต์ทริกเกอร์ วงจรกำเนิดสัญญาณสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยม วงจรกำเนิดสัญญาณรูปซายน์
“Super Diode”
High-Precision Recifiter เมื่อ vI < 0 ไดโอดจะ off (เพราะถ้าไดโอด on จะทำให้ vO ~ vI < 0 และเกิดกระแส iD = iR < 0 ซึ่ง เป็นไปไม่ได้) ทำให้ vO = 0 และ vX = AvI < 0 ( A คือ อัตราขยายแบบไม่มีการป้อนกลับของออปแอมป์) จนกระทั่งเมื่อ vI = 0.7/A (ซึ่งมีค่าเพียงไม่กี่มิลลิโวลต์) จะทำให้ vX = 0.7 V และส่งผลให้ไดโอดเริ่ม on ต่อจากนี้ ถ้าเราเพิ่ม vI ต่อไปเรื่อย ๆ ไดโอดก็จะยังคง on ต่อไปและทำให้ vO ~ vI
กราฟถ่ายโอนแรงดันของวงจรเรียงสัญญาณ “ความแม่นยำสูง”
Automatic Gain Control (AGC) Circuit “วงจรปรับอัตราขยายอัตโนมัติ” วงจรขยายสัญญาณที่มีอัตราขยายเปลี่ยน ไปตามขนาดของแรงดันอินพุต “ที่มีขนาดใหญ่”
เมื่อแยกให้เห็น “ส่วนขยาย” AGC Circuit เมื่อแยกให้เห็น “ส่วนขยาย” และ “ส่วนควบคุม (ในเส้นประ)”
วงจร AGC เดิม เมื่อตัดไดโอดออกไป
กราฟถ่ายโอนแรงดันของวงจรก่อนหน้า (ซึ่งตัดไดโอดออกไป)
กราฟถ่ายโอนแรงดันของวงจร AGC (ซึ่งรวมผลจากไดโอด)
ตัวอย่างสัญญาณด้านออก (เส้นทึบ) ของวงจร AGC เมื่อสัญญาณด้านเข้าเป็นสัญญาณรูปสามเหลี่ยม (เส้นประ)
Op Amp with positive feedback ออปแอมป์ที่มีการป้อนกลับแบบบวก กราฟถ่ายโอนแรงดันของออปแอมป์ “ในขณะที่ยังไม่มีการป้อนกลับ”
Op Amp with positive feedback
ทวิเสถียร Bistability เอกเสถียร Monostability
Schmitt-Trigger (Bistable Multibrator) BVOH BVOL
Non-Inverting Bistable Multivibrator วงจรชมิตต์ทริกเกอร์แบบ “ไม่” กลับเฟส
“Astable” Multivibrator Square/Triangular Wave Generator วงจรกำเนิดสัญญาณรูปสี่เหลี่ยมและรูปสามเหลี่ยม วงจร Astable Multivibrator อันสร้างจาก “วงจรชมิตต์ทริกเกอร์แบบไม่กลับเฟส” กับ “วงจรอินทิเกรเตอร์แบบกลับเฟส” โดยสัญญาณ v2 ถูก “ป้อนกลับแบบบวก” ไปยังจุดสัญญาณเข้าของชมิตต์ทริกเกอร์
ถ้า VOH = -VOL
วงจรกำเนิดสัญญาณรูปสี่เหลี่ยม โดยที่
Positive Feedback and Oscillators
เงื่อนไขการออสซิลเลต LG(s) = A(s)B(s) เงื่อนไขการออสซิลเลต
Wein-Bridge OSC
Wein-Bridge OSC จะเห็นได้ว่า ถ้า
Phase Shift OSC a b เมื่อ feedback loop ถูกเปิดออก Transfer Function จากจุด a ไปยังจุด b จะเป็นแบบ Highpass โดย phaseshift ของสัญญาณทั้งสองจุดจะต่างกัน 270o ที่ความถี่ต่ำ ๆ และจะลดลงเรื่อย ๆ จนเข้าสู่ศนย์ที่ความถี่สูง วงจร OSC แบบนี้จะถูกออกแบบให้การออสซิลเลตเกิดขึ้นที่ความถี่ที่ phaseshift ระหว่างสัญญาณจุด a และ b เท่ากับ 180o
Phase Shift OSC
Phase Shift OSC
แนวข้อสอบปลายภาค 1 วงจรขยาย BJT แบบจำลอง หาค่าพารามิเตอร์ หาค่าอัตราขยาย 2. MOSFET ลักษณะการทำงานของ MOSFET ในสภาวะต่างๆ โครงสร้างทางฟิสิกส์ 3. วงจรไบแอส MOSFET หาจุดทำงานไฟตรง คำนวณหาค่า R ในวงจร 4. วงจร OP-AMP เชิงเส้น คุณสมบัติความไม่เป็นอุดมคติ กราฟคุณลักษณะถ่ายโอนทางไฟตรง อัตราขยาย วาดรูปสัญญาณ 5. วงจร OP-AMP ไม่เชิงเส้น Schmitt triger (VOH, VIH,VOL,VIL) Integrator () วาดรูปสัญญาณ