โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
BOON Array. BOON ตัวแปรอาร์เรย์แบบหนึ่งมิติ (One Dimension) Type array_name [Nmax],…; Ex. char fname[5]; char sname[5];
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
LAB # 1.
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลชนิดพอยท์เตอร์
คำสั่งพิเศษที่นิยมใช้ใน โปรแกรม. #include double pow(2,5)  ยกกำลัง int num1,num2,Result; num1=2; num2=5; Result=double pow(2,5); Printf(“%d”,Result);
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
ฟังก์ชั่น function.
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
ตัวอย่างโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สี่เหลี่ยม
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
#include #define N 5 void main() { inti, X[N]; for (i=0; i < N; i++) { /* รับข้อมูล */ printf(“Enter number : ”); scanf(“%d”, &X[i] ); } for (i=0; i
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Output of C.
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
Operator of String Data Type
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
ฟังก์ชันในภาษา C. ฟังก์ชัน (Functions) 2 การออกแบบโปรแกรมในภาษาซี จะอยู่บนพื้นฐานของการออกแบบ โมดูล (Module Design) โดยการแบ่ง โปรแกรมออกเป็นงานย่อย ๆ.
โครงสร้างภาษาซี C ++ structure
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ 1.2 ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming I โดย อ.วิมลศรี เกตุโสภณ สาขาวิชาระบบสารสนเทศ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
บทที่ 5 การจัดเตรียมเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C
บทที่ 4 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
การควบคุมทิศทางการทำงาน
Chapter 9 ตัวชี้ pointer.
ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3.0
Introduction to VB2010 EXPRESS
ภาษา C เบื้องต้น.
การควบคุมการทำงานด้วยภาษา C
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
หลักการเขียนโปรแกรมภาษาซี
introduction to Computer Programming
บทที่ 2 แนะนำภาษา C Basic C Program
Chapter 7 ฟังก์ชัน Function.
บทที่ 3 โครงสร้างภาษาซีเบื้องต้น
Introduction to Computer Programming
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โปรแกรม ภาษา C ภาษาซี (C Language) เป็นภาษาหนึ่งสำหรับเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์   พัฒนาขึ้นโดยนายเดนนิส  ริทชี่ (Dennis Ritche)  ในปี ค.ศ. 1972  เพื่อสร้างระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ (Unix Operating System

รายละเอียดของเมนู เมนูหลัก (Main Menu) ประกอบด้วย File เก็บรวมรวมคำสั่งเกี่ยวกับการเปิด-ปิดไฟล์ การบันทึกไฟล์ การออกจากโปรแกรม Edit การแก้ไขโปรแกรม การสำเนาหรือการย้ายข้อความที่ปรากฏบนเอดิเตอร์ Search ค้นหาคำหรือข้อความที่เขียนในโปรแกรม ตลอดจนการแทนที่คำ Run รันโปรแกรมที่เขียนด้วยคำสั่งแบบต่าง ๆ Compile แปลข้อมูลของโปรแกรมที่เป็น Source file ให้เป็น Object File Debug ตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม Project ใช้ในการระบุไฟล์ต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องนำมาใช้ในตัวโปรแกรมและ Project ที่ทำงานอยู่ Option กำหนดรายละเอียดต่าง ๆ ของคอมไพเลอร์เช้น Directories Compiler เป็นต้น Window จัดการเกี่ยวกับหน้าต่างที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม Help ขอความช่วยเหลือหรือรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมในลักษณะต่าง ๆ

ตัวแปรในภาษาซี ตัวแปร (Variable) คือ การจองพื้นที่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์สำหรับเก็บข้อมูลที่ต้องใช้ในการทำงานของโปรแกรม  โดยมีการตั้งชื่อเรียกหน่วยความจำในตำแหน่งนั้นด้วย  เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้ข้อมูล  ถ้าจะใช้ข้อมูลใดก็ให้เรียกผ่านชื่อของตัวแปรที่เก็บเอาไว้

ชนิดของข้อมูล        ภาษาซีเป็นภาษาที่มีชนิดของข้อมูลใช้งานหลายอย่างด้วยกัน  ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละอย่างมีขนาดเนื้อที่ที่ใช้ในหน่วยความจำที่แตกต่างกัน  และเนื่องจากการที่มีขนาดที่แตกต่างกันไป  ดังนั้นในการเลือกใช้งานประเภทข้อมูลก็ควรจะคำนึงถึงความจำเป็นในการใช้งานด้วย  สำหรับประเภทของข้อมูลมีดังนี้คือ 1. ข้อมูลชนิดตัวอักษร (Character) คือข้อมูลที่เป็นรหัสแทนตัวอักษรหรือค่าจำนวนเต็มได้แก่ ตัวอักษร ตัวเลข และกลุ่มตัวอักขระพิเศษใช้พื้นที่ในการเก็บข้อมูล 1 ไบต์ 2. ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม (Integer)  คือข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนเต็ม  ได้แก่ จำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ ศูนย์ ใช้พื้นที่ในการเก็บ 2 ไบต์ 3. ข้อมูลชนิดจำนวนเต็มที่มีขนาด 2 เท่า (Long Integer) คือข้อมูลที่มีเลขเป็นจำนวนเต็ม  ใช้พื้นที่  4 ไบต์ 4. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (Float) คือข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม ขนาด 4 ไบต์ 5. ข้อมูลชนิดเลขทศนิยมอย่างละเอียด (Double) คือข้อมูลที่เป็นเลขทศนิยม ใช้พื้นที่ในการเก็บ 8 ไบต์

รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C      การสร้าวตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า  การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคำสั่งให้ถูกต้องตามแบบการประกาศตัวแปร  แสดงดังนี้ type name; type :  ชนิดของตัวแปร name : ชื่อของตัวแปร  ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลักของภาษา C      การเขียนคำสั่งเพื่อประกาศตัวแปร  ส่วนใหญ่แล้วจะเขียนไว้ในส่วนหัวของโปรแกรมก่อนฟังก์ชัน main ซึ่งการเขียนไว้ในตำแหน่งดังกล่าว  จะทำให้ตัวแปรเหล่านั้นสามารถเรียกใช้จากที่ใดก็ได้ในโปรแกรม 

ตัวอย่าง #include <stdio.h>   int num; สร้างตัวแปรชื่อ num เพื่อเก็บข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม float y; สร้างตัวแปรชื่อ y เพื่อเก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม char n; สร้างตัวแปรชื่อ n เพื่อเก็บข้อมูลชนิดตัวอักขระ void main()   {        printf("Enter number : ")        scanf("%d",&num);        printf("Enter name : ");        scanf("%f",&n);        printf("Thank you");   }

หลักการตั้งชื่อตัวแปร ในการประกาศสร้างตัวแปรต้องมีการกำหนดชื่อ ซึ่งชื่อนั้นไม่ใช่ว่าจะตั้งให้สื่อความหมายถึงข้อมูลที่เก็บอย่างเดียว  โดยไม่คำนึงถึงอย่างอื่น   เนื่องจากภาษา C มีข้อกำหนดในการตั้งชื่อตัวแปรเอาไว้  แล้วถ้าตั้งชื่อผิดหลักการเหล่านี้  โปรแกรมจะไม่สามารถทำงานได้  หลักการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C แสดงไว้ดังนี้ 1.ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือเครื่องหมาย _(Underscore) เท่านั้น 2.ภายในชื่อตัวแปรสามารถใช้ตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือตัวเลข0-9 หรือเครื่องหมาย _ 3.ภายในชื่อห้ามเว้นชื่องว่าง หรือใช้สัญลักษณ์นอกเหนือจากข้อ 2 4.ตัวอักษรเลขหรือใหญ่มีความหมายแตกต่างกัน 5.ห้ามตั้งชื่อซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word)

ตัวแปรสำหรับข้อความ      ในภาษา C ไม่มีการกำหนดชนิดของตัวแปรสำหรับข้อความโดยตรง  แต่จะใช้การกำหนดชนิดของตัวแปรอักขระ (char) ร่วมกับการกำหนดขนาดแทน  และจะเรียกตัวแปรสำหรับเก็บข้อความว่า  ตัวแปรสตริง (string) รูปแบบการประกาศตัวแปรสตริงแสดงได้ดังนี้ char name[n] = "str"; name ชื่อของตัวแปร n ขนาดของข้อความ หรือจำนวนอักขระในข้อความ str ข้อความเริ่มต้นที่จะกำหนดให้กับตัวแปรซึ่งต้องเขียนไว้ภายในเครื่องหมาย "  " ตัวอย่างการประกาศตัวแปรสำหรับเก็บข้อความ  แสดงได้ดังนี้ char name[5] = "kwan" ; สร้างตัวแปร name สำหรับเก็บ ข้อความ kwan ซึ่งมี  4 ตัวอักษร ดังนั้น name ต้องมีขนาด 5 char year[5] = "2549"; สร้างตัวแปร year สำหรับเก็บ ข้อความ 2549 ซึ่งมี  4 ตัวอักษร ดังนั้น year ต้องมีขนาด 5 char product_id[4] = "A01"; สร้างตัวแปร product_id สำหรับเก็บ ข้อความ A01 ซึ่งมี  3 ตัวอักษร ดังนั้น product_id ต้องมีขนาด 4  

เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษา C      การดำเนินการในการเขียนโปรแกรมภาษา C มีอยู่ 3 ประเภท  คือ  การคำนวณทางคณิตศาสตร์  การดำเนินการทางตรรกศาสตร์  และการเปรียบเทียบ  ซึ่งการดำเนินการแต่ละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ต้องใช้เพื่อเขียนคำสั่งสำหรับการดำเนินการประเภทนั้น ๆ ดังรายละเอียด

เครื่องหมายการคำนวณทางคณิตศาสตร์

การเขียนนิพจน์ในภาษา C

ลำดับความสำคัญของเครื่องหมาย ลำดับความสำคัญจากสูงไปต่ำ 1 ( ) 2 !,++,- - 3 *,/,% 4 +,- 5 <,<=,>,>= 6 = =,!= 7 && 8 || 9 *=,/=,%=,+=,-=

จงหาค่าของนิพจน์ 8 + 7. 6 วิธีทำ 1 จงหาค่าของนิพจน์  8 + 7 * 6 วิธีทำ 1. ให้สังเกตที่ตัวโอเปอเรเตอร์ก่อนเสมอว่ามีโอเปอเรเตอร์อะไรบ้าง  ในที่นี้มี + และ * 2. ทำการไล่ลำดับความสำคัญของโอเปอเรเตอร์ทั้งหมดเปรียบเทียบกัน จากตัวที่มีลำดับความสำคัญสูงสุดไปยังตัวที่มีลำดับสำคับต่ำสุด ลำดับความสำคัญจากสูงไปต่ำ โอเปอเรเตอร์ * + 3. จากข้อ  2  จะได้ลำดับการทำงานเป็นดังนี้      ขั้นที่  1  7 * 6 = 42 ขั้นที่  2  8 + ค่าที่ได้จากขั้นที่  1                   = 8 + 42                           = 50 ดังนั้น          8 + 7 * 6 = 50

การแสดงผลและรับข้อมูล แสดงผลออกทางหน้าจอ           คำสั่ง printf  ถือได้ว่าเป็นคำสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลข้อมูลทุกชนิดออกทางหน้าจอไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม int ทศนิยม float ข้อความ string  หรืออักขระ  นอกจากนี้คำสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง  โดยเราสามารถกำหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความต้องการได้อีกด้วย  รูปแบบคำสั่ง prinft printf ("format",variable); Format ข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกทางหน้าจอ  โดยข้อมูลนี้ต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย "  "  ข้อมูลที่สามารถแสดงผลได้มีอยู่ 2 ประเภท คือ  ข้อความธรรมดา  และค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร  ซึ่งถ้าเป็นค่าที่เก็บไว้ในตัวแปรต้องใส่รหัสควบคุมรูปแบบให้ตรงกับชนิดของข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปรนั้นด้วย Variable ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ต้องการนำค่าไปแสดงผลให้ตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่กำหนดไว้

รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ  รหัสควบคุมรูปแบบ การนำไปใช้งาน %d แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำนวนเต็ม %u แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำนวนเต็มบวก %f แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำนวนทศนิยม %c แสดงผลอักขระ 1 ตัว %s แสดงผลข้อความ หรืออักขระมากกว่า 1 ตัว

แสดงผลให้เป็นระเบียบด้วยอักขระควบคุมการแสดงผล ความหมาย \n ขึ้นบรรทัดใหม่ \t เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร) \r กำหนดให้เคอร์เซอร์ไปอยู่ต้นบรรทัด \f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ \b ลบอักขระสุดท้ายออก 1 ตัว         

คำสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด           การทำงานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป็นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้แบบ  2  ทิศทาง  คือ  ทั้งภาคของการแสดงผลการทำงานออกทางหน้าจอ  และภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด  เพื่อร่วมในการประมวลผลของโปรแกรม   

คำสั่ง  scanf()           ในภาษา C  การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทำได้โดยการเรียกใช้ฟังก์ชัน  scanf()  ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสำหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด  โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภท  ไม่ว่าจะเป็นจำนวนเต็ม  ทศนิยม  อักขระ หรือข้อความ  scanf("format",&variable); Format การใช้รหัสควบคุมรูปแบบ  เพื่อกำหนดชนิดของข้อมูลที่จะรับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดยรหัสควบคุมรูปแบบใช้ชุดเดียวกับคำสั่ง printf() variableตัวแปรที่จะใช้เก็บค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด  โดยชนิดของตัวแปรจะต้องตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่กำหนดไว้  นอกจากนี้หน้าชื่อของตัวแปรจะต้องนำหน้าด้วยเครื่องหมาย  &  ยกเว้นตัวแปรสตริง  สำหรับเก็บข้อความเท่านั้นที่ไม่ต้องนำหน้าด้วยเครื่องหมาย &

ตัวอย่างการใช้งานคำสั่ง scanf() เพื่อรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด int speed; สร้างตัวแปรชนิด int สำหรับเก็บค่าตัวเลขจำนวนเต็ม printf("Enter wind speef : "); แสดงข้อความให้กรอกค่าความเร็วลมเป็นจำนวนเต็ม scanf("%d",&speed); รับค่าความเร็วลมเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร speed char answer; สร้างตัวแปรชนิด  char สำหรับเก็บอักขระ printf("Enter Figure (Y : N)  : ") แสดงข้อความให้ป้อนอักขระ Y  หรือ N scanf("%c",&answer รับอักขระเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร  answer char name[10]; สร้างตัวแปรสตริงสำหรับเก็บข้อความ printf("Enter your name = "); แสดงข้อความให้ป้อนชื่อ scanf("%s",name รับชื่อเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร name สังเกตจะไม่ใส่เครื่องหมาย & ตัวแปรชนิดข้อความ

ตัวอย่าง การเขียนโปรแกรมคำนวณ สามารถคำนวณหาผลลัพธ์ของนิพจน์คณิตศาสตร์ด้วยการเขียนโปรแกรมภาษาซี   ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการแสดงลำดับการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ของนิพจน์ต่าง ๆ ตัวอย่าง

#include <stdio. h> #include <conio #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() {   clrscr();   int a,b,c,d;   a=(3+4)*5;   b=3+4*5;   c=(2+7)*4%10;   d=2+7*4%10;   e=10+2*8/4*3-5;   printf("(3+4)*5 =%d\n",a);   printf("3+4*5 =%d\n",b);   printf("(2+7)*4%10 =%d\n",c);   printf("(2+7)*4%10 =%d\n",d);   printf("10+2*8/4*3-5 =%d\n",e);   getch(); } ผลลัพธ์โปรแกรม   (3+4)*5=35   3+4*5=23   (2+7)*4%10=6   2+7*4%10=10   10+2*8/4*3-5=17