สรุป พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 6-7 จัดการศึกษา เพื่อ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เก่ง ดี มีสุข ปลูกจิสำนึกที่ถูกต้อง การเมือง การปกครอง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ภาคภูมิใจในความเป็นไทย อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง หลักการจัดการศึกษา การศึกษาตลอดชีวิต พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สังคมมีส่วนร่วม
สิทธิ หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ สิทธิ เรียนฟรี อย่างน้อย 12 ปี อย่างมีคุณภาพ สิทธิและโอกาสพิเศษ สำหรับผู้มีความบกพร่อง พิการ ทุพพลภาพ ตั้งแต่แรกเกิดหรือพบ รูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่มีความสามารถพิเศษ
ส่งบุตรหลานหรือบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ หน้าที่ ส่งบุตรหลานหรือบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
สิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน รัฐ เอกชน อปท บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบนสังคมอื่น
สิทธิของบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง สนับสนุนจากรัฐ อรมเลี้ยงดู การให้การศึกษา เงินอุดหนุน ลดหย่อยภาษีหรือยกเว้นภาษี
สิทธิผู้สนับสนุนการจัดการศึกษา ความรู้ความสารถในการอบรมเลี้ยงดู เงินอุดหนุน การหลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี
หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15-21 หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15-21 การศึกษาในระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษานอกระบบ
การศึกษาระดับอุดมศึกษา การศึกษาในระบบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปี ระดับและประเภทเป็นไปตามกฎหมายกำหนด การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำกว่าปริญญา ระดับปริญญา
การศึกษาภาคบังคับ ย่างปีที่ 7 ถึงย่างปีที่ 16 ยกเว้นสอบได้ปีที่ 9 9ปี ย่างปีที่ 7 ถึงย่างปีที่ 16 ยกเว้นสอบได้ปีที่ 9 การนับอายุ เป็นไปตามกฎกระทรวง
สถานศึกษา สถานพัฒนาปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การรียน ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก .. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกชื่ออย่างอื่น โรงเรียน โรงเรียนของรัฐ เอกชน โรงเรียนสังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่น ศูนย์การรียน สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ...เป็นผู้จัด
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22-30 ผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถ พัฒนาตนเองได้ มีความสำคัญที่สุด
กระบวนการเรียนรู้และบูรณการตามความเหมาะสมตามระดับ การศึกษาทุกระบบ ความรู้ กระบวนการเรียนรู้และบูรณการตามความเหมาะสมตามระดับ คุณธรรม
ความรู้ ตนเอง ชุมชน ชาติ สังคมโลก
ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬาภูิมปัญกาไทย คณิตศาสตร์และภาษา ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ
พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม พัฒนาการ ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การทดสอบ การประเมินผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลาง โดยคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การดำรงชีวิต การประกอบอาชี การศึกษาต่อ เพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดี
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 33-46 หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 33-46
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ กระทรวงมีอำนาจหน้าที่ ส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐาน สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ส่งเสริม ประสานงานการศาสนา สิลปะ วัฒนธรรมและกีฬา ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา
โครงสร้างกระทรวง สภาการศึกษา คณะกรรมการการอุดมสึกษา 4 องค์กรหลัก คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรราการการอาชีวศึกษา คณะกรรมการการอุดมสึกษา
ส่วนที่ 2การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อปท จัดการศึกษาได้ทุกระดับ ความพร้อมและความต้องการของท้องถิ่น กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาเอกชน มีความเป็นอิสระ กำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและมาตรฐานจากรัฐ เป็นนิติบุคคล มีคณะกรรมการบริหาร รัฐสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี สิทธิประโยชน์อื่น
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร รายงานต่อต้นสังกัด เผยแพร่ต่อสาธารณชน ประกันคุณภาพภายนอก โดยสำนักงานรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ) อย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี
หมวด 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 42-57 กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ กำกับดูแล การปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ องค์กรวิชาชีพ ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู ต้องมีใบประกอบวิชาชีพผู้บริหาร ผู้บริหาร ครู คณาจารย์ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา ไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา มาตรา 48-62 ระดมทรัพยากร รัฐ เอกชน อปท บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคืกรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพสถาบันศาสนา สถาบันประกอบการ สถาบันสังคมอื่น
จัดสรรงบประมาณแผ่นดิน จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคล รัฐและเอกชนเท่าเทียมกัน จัดสรรทุนการศึกษา ในรูปกองทุนกู้ยืม จากครอบครัวผู้ีรายได้น้อย จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษ
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ ส่งเสริมและสนับสนุนในการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตำรา สื่อ พัฒนาบุคลากรด้านผู้ผลิต และผู้ใช้ ส่เสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีก หนาที่ของรัฐ รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริม และประสานการวิจัย การพัฒนา และการใช้ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี