แหล่งสารสนเทศ 4.2 สารสนเทศทุติยภูมิ ดร.นฤมล รักษาสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย สาขาศิลปศาสตร์และมนุษยศาสตร์ : กรณีตัวอย่างคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย สุปริญา ลุลิตานนท์ ศูนย์สารนิเทศมนุษยศาสตร์(ห้องสมุด)
Advertisements

บรรณารักษ์ห้องสมุดศูนย์เครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Health Science Databases
ฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย...ปราณีย์ อนุศาสนนันท์ บรรณารักษ์
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/05/51.
BLACKWELL SYNERGY Jirawat Promporn Book Promotion & Service Co Ltd
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 10/01/54 โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร
โดย… จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงล่าสุด 04/12/52.
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
CMMMU Library User’s guide. โปรแกรมจัดการทางบรรณานุกรมซึ่งทำงานบนเว็บ (Web) ที่ที่ผู้ใช้สามารถจัดการข้อมูลเอกสารอ้างอิง อ้างอิง เอกสารที่จัดเก็บลงในผลงานวรรณกรรม.
การใช้งานฐานข้อมูล HW Wilson การใช้งานฐานข้อมูล HW Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.
โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรี
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/11/51.
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร Thai Library Integrated System (ThaiLIS)
Ebsco Discovery Service (EDS)
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 05/01/54 โดย...จิรวัฒน์
By : Jirawat Promporn B o o k P r o m o t i o n & S e r v i c e c o., l t d.
Springer Link - รายละเอียดฐานข้อมูล เนื้อหา : รวบรวมจากวารสารมากกว่า 400 รายชื่อ ขอบเขต : ครอบคลุมเนื้อหาตั้งแต่ปี 1994 ถึง ปัจจุบัน รูปแบบ.
BLACKWELL SYNERGY Jirawat Promporn Book Promotion & Service Co Ltd
โดย : จิรวัฒน์ พรหม พร Book Promotion & Service Co,. Ltd. Tel :
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล.
โดย : จิรวัฒน์ พรหม พร Book Promotion & Service Co,. Ltd. Tel :
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด.
IngentaConnect.
ฐานข้อมูลออนไลน์ทาง การแพทย์ Medical Online Databases KM For ชุมชนคนใกล้หมอ ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ May 10, 2007.
Annual Reviews โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร Book Promotion & Service Co.,Ltd.
การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ ติดตั้ง VPN และเทคนิคการสืบค้นข้อมูลจาก ฐานข้อมูลอ้างอิงออนไลน์ โดย นางสาวจุฑาทิพย์ นิยมรัตน์ 28 สิงหาคม 2558 การฝึกอบรมการใช้ฐานข้อมูล.
หมายเหตุ: ถ้าต้องการเปลี่ยน รูปภาพบนสไลด์นี้ ให้เลือกรูปภาพ และลบรูปภาพนั้น จากนั้นคลิกที่ ไอคอนรูปภาพ ในตัวแทนรูป เพื่อ แทรกรูปภาพของ คุณ ศูนย์วิทยบริการ.
Literature Review การทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้อง.
Information Technology For Life
แหล่งสารสนเทศ 4.2 สารสนเทศทุติยภูมิ ดร.นฤมล รักษาสุข
ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายการอ้างอิง ในการเขียนบทความ การทำรายงาน ค้นคว้า วิจัย อาจต้องมีการอ้างอิงงานของผู้เขียนท่านอื่น จึงจำเป็นที่จะต้องแสดงความเคารพต่อเจ้าของความคิด เจ้าของผลงานเดิมด้วย.
การเขียนอ้างอิงในงานวิชาการ
การสืบค้นข้อมูลในการวิจัยจากเว็บไซต์หอสมุด
ProQuest Dissertations & Theses
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
การสืบค้นข้อมูลทางเคมี
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ก.พ.อ. 03 : ก้าวแรกสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม (Citations)
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
ABI/INFORM Complete การใช้งานฐานข้อมูล โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร
Register คลิก register.
ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
รายวิชา Scientific Learning Skills
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
Review of the Literature)
“แนวทางการเขียนหนังสือ – ตำรา”
การเขียนบทความวิชาการ
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
รายวิชา Scientific Learning Skills
การสืบค้นข้อมูลทางเคมี
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
Nature โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
การใช้งานฐานข้อมูล H.W. Wilson
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แหล่งสารสนเทศ 4.2 สารสนเทศทุติยภูมิ ดร.นฤมล รักษาสุข รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 แหล่งสารสนเทศ 4.2 สารสนเทศทุติยภูมิ ดร.นฤมล รักษาสุข

4.2 สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Sources) 4.2.1 ขอบเขตของสารสนเทศทุติยภูมิ 4.2.2 ประโยชน์ของสารสนเทศทุติยภูมิ 4.2.3 ประเภทของสารสนเทศทุติยภูมิ

4.2.1 ขอบเขตของสารสนเทศทุติยภูมิ เป็นสารสนเทศที่เกิดจากการรวบรวมและ เรียบเรียงสารสนเทศปฐมภูมิ 2) เป็นการนำสารสนเทศประเภทเดียวกันมาไว้ด้วยกัน จัดหมวดหมู่ให้เป็นระเบียบ ย่อเรื่องให้เข้าใจง่าย หรือจัดทำในรูปดรรชนีวารสารหรือสาระสังเขป

4.2.2 ประโยชน์ของสารสนเทศทุติยภูมิ 1) ให้สารสนเทศที่เข้าใจง่าย 2) เป็นเครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศปฐมภูมิ

4.2.3 ประเภทของสารสนเทศทุติยภูมิ รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 4.2.3 ประเภทของสารสนเทศทุติยภูมิ 1) หนังสือตำรา 2) ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิง (สารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม อักขรานุกรมภูมิศาสตร์) 3) ดรรชนีวารสาร (Index to Journal Articles) 4) สาระสังเขป (Abstract) 5) บรรณานุกรม (Bibliography) 6) บรรณนิทัศน์ (Annotated Bibliography)

หนังสือตำรา (Textbook) หมายถึงผลงานเรียบเรียงเพื่อเสนอความรู้ในศาสตร์สาขาวิชาต่างๆ “ตำรับ” หมายถึงตำราที่กำหนดไว้เป็นเฉพาะ แต่ละเรื่องละราย เช่น ตำรับหอสมุดแห่งชาติ ใบสั่งยา (ใช้เฉพาะแพทยศาสตร์) (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554)

ทรัพยากรสารสนเทศอ้างอิง สารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม อักขรานุกรมภูมิศาสตร์

สารานุกรม (Encyclopedias) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 สารานุกรม (Encyclopedias) แหล่งสารสนเทศว่าด้วย “สารพัดความรู้” วัตถุประสงค์หลักในการจัดทำ คือ เพื่อนำเสนอ สารสนเทศที่กระชับ (Concise) และเข้าถึงง่าย (Easily Access)

ประเภทของสารานุกรม - แบ่งตามเนื้อหา รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ประเภทของสารานุกรม - แบ่งตามเนื้อหา - สารานุกรมทั่วไป (General Encyclopedia) - สารานุกรมเฉพาะวิชา (Subject Encyclopedia) - แบ่งตามลักษณะรูปเล่ม - Single-Volume Encyclopedias - Multivolume Encyclopedias

พจนานุกรม ให้นิยาม ความหมายของคำ ใช้ตรวจสอบการสะกดคำ การออกเสียง และการใช้คำ บอกประวัติการเกิดของคำ

นามานุกรม (Directories) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 นามานุกรม (Directories) - แหล่งสารสนเทศที่ให้รายชื่อ ร้านค้า บริษัท สถาบัน หน่วยงานของรัฐ โดยอาจให้เฉพาะชื่อหน่วยงานหรือ บุคคลในหน่วยงาน และอาจให้สารสนเทศเกี่ยวกับ สินค้าและบริการด้วย - สารสนเทศดังกล่าวมีการจัดกลุ่มและจัดเรียงอย่าง เป็นระบบเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงสารสนเทศ ที่ต้องการ

นามานุกรม (Directories) (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 นามานุกรม (Directories) (ต่อ) - ข้อมูลที่ได้มักได้จากแบบสอบถาม - ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยต้องปรับปรุง ให้ทันสมัยอยู่เสมอ

ตัวอย่างนามานุกรม National Directory of Nonprofit Organizations (NDNO) -- eDirectory International Research Centers Directory (IRCD) -- eDirectory Physics and Astronomy Directory (https://www.physastro.iastate.edu/directory)

อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ ให้รายชื่อ สถานที่ทางภูมิศาสตร์และลักษณะทางกายภาพ เรียงตามลำดับอักษร ให้ข้อมูลจำนวนประชากร สภาพทางภูมิศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณีและเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่นั้น ตัวอย่างเช่น The National Gazetteer of the United States of America (1990) -- ฉบับพิมพ์ (https://pubs.er.usgs.gov/publication/pp1200US)

ดรรชนีวารสาร (Index to Journal Articles) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ดรรชนีวารสาร (Index to Journal Articles) คือคำค้นที่ใช้เพื่อการเข้าถึงบทความวารสาร คำค้นมักได้แก่ ชื่อผู้แต่ง (Authors) หัวเรื่อง (Subject-Headings) และคำสำคัญ (Keywords) ดรรชนีอาจอยู่ในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือฐานข้อมูลออนไลน์

รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความเป็นมาของดรรชนี - แนวคิดการทำดรรชนีเรื่อง (Subject Index) เริ่ม ในศตวรรษที่ 15 โดยมีการจัดทำสิ่งพิมพ์ชื่อ “Apothegmata” ซึ่งเป็นรายการเรียงตามลำดับอักษร ในหัวข้อเทววิทยา (Theological Topics) - การทำดรรชนีเพื่อค้นหาวรรณกรรมทางด้าน วิทยาศาสตร์ ได้เริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อมีการผลิต วารสารวิชาการออกเผยแพร่จำนวนมาก

ความเป็นมาของดรรชนี (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความเป็นมาของดรรชนี (ต่อ) - ต้นศตวรรษที่ 19 The Royal Society ได้จัดพิมพ์ Catalogue of Scientific Papers ซึ่งเป็นดรรชนี ผู้แต่ง (Author Index) เพื่อใช้ค้นบทความจาก วารสารด้านวิทยาศาสตร์ 1,500 ชื่อ

ความเป็นมาของดรรชนี (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความเป็นมาของดรรชนี (ต่อ) - ในศตวรรษที่ 20 บริการดรรชนี (Indexing Services) ได้เริ่มขึ้นและกิจการเติบโตขึ้นตามลำดับ - Zoological Record (1864 - ) (ปัจจุบันอยู่บน Platform ของฐานข้อมูล Web of Science) - Index Medicus (1879 - ) - Biological and Agricultural Index (1916 - )

ความเป็นมาของดรรชนี (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความเป็นมาของดรรชนี (ต่อ) - Applied Science and Technology Index (1958 - ) (https://www.ebscohost.com/academic/applied-science-technology-index) - Science Citation Index (1961 - ) (ปัจจุบันอยู่บน Platform ของฐานข้อมูล Web of Science)

สาระสังเขป (Abstracts) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 สาระสังเขป (Abstracts) ให้สารสนเทศที่เป็นสรุปย่อเนื้อเรื่องของทรัพยากร สารสนเทศ ให้ข้อมูลทางบรรณานุกรม สาระสังเขปอาจอยู่ในรูปของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเล็กทรอนิกส์หรือฐานข้อมูลออนไลน์

ความสำคัญของสาระสังเขป รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความสำคัญของสาระสังเขป ช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่าง สะดวก (กรณีที่สาระสังเขปเขียนโดยภาษาสากล- ภาษาอังกฤษ) ช่วยประหยัดเวลาของผู้ใช้ในการคัดเลือก สารสนเทศที่ต้องการ

ความเป็นมาของบริการสาระสังเขป รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความเป็นมาของบริการสาระสังเขป เครื่องมือที่ทำหน้าที่คล้ายกับสาระสังเขปเริ่มมีขึ้นในยุคเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีลักษณะเป็นซองแผ่นดินเหนียวที่ปิดทับอักษรคิวนิฟอร์มและมีการเขียนเนื้อเรื่องย่อไว้ (Francis Witty)

ความเป็นมาของบริการสาระสังเขป (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความเป็นมาของบริการสาระสังเขป (ต่อ) วารสารสาระสังเขปเริ่มจัดทำขึ้นในศตวรรษที่ 18 - Pharmaceutisches Central-Blatt (1830) - Science Abstracts (1898) บริการสาระสังเขป (Abstracting Services) มีพัฒนาการอย่างมากในศตวรรษที่ 20 - Chemical Abstracts (1907 - ) - Biological Abstracts (1926 - )

ปัจจุบันบริการสาระสังเขปให้บริการในรูปฐานข้อมูลออนไลน์ OCLC EBSCO -- Academic Search Complete -- Computers & Applied Science Complete - ProQuest --Library and Information Science Abstracts (LISA)

Elsevier -- SCOPUS H.W. Wilson -- Applied Science & Technology Full Text -- Business Abstracts with Full Text -- Education Full Text -- Humanities Full Text

ประเภทของสาระสังเขป 1. สาระสังเขปประเภทชี้แนะ (Indicative Abstract) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ประเภทของสาระสังเขป 1. สาระสังเขปประเภทชี้แนะ (Indicative Abstract) ให้ข้อมูลสั้นๆ เพื่อให้ผู้อ่านตัดสินใจเองว่าจะอ่าน เพิ่มเติมจากต้นฉบับหรือไม่ 2. สาระสังเขปประเภทให้ความรู้ (Informative Abstract) ให้เนื้อหาย่อเพื่อให้ผู้อ่านมีความรู้เกี่ยวกับงานนั้น ในระดับหนึ่ง

ตัวอย่างสาระสังเขปประเภทชี้แนะ

ตัวอย่างสาระสังเขปประเภทให้ความรู้

ตัวอย่างสาระสังเขปประเภทให้ความรู้ (ต่อ)

สาระสังเขปของไทย - สาระสังเขปวิทยานิพนธ์ - สาระสังเขปงานวิจัย รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 สาระสังเขปของไทย - สาระสังเขปวิทยานิพนธ์ - สาระสังเขปงานวิจัย

รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 บรรณานุกรม บรรณานุกรม คือ ข้อมูลตัวแทนทรัพยากร สารสนเทศ (Surrogate Records) ประเภทหนึ่ง ที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศแต่ละ รายการ เป็นแหล่งสารสนเทศที่รวบรวมรายการ ทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ภายใต้ ชื่อผู้แต่งหรือผู้ผลิต (Lists of Information Packages)

ความหมายของบรรณานุกรม (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความหมายของบรรณานุกรม (ต่อ) บรรณานุกรมบางประเภทอาจมี “บรรณนิทัศน์” (Annotations) ประกอบ ซึ่งเป็นข้อมูลย่อๆ เกี่ยวกับเนื้อหาหรือประโยชน์ของทรัพยากร สารสนเทศรายการนั้น บรรณานุกรมอาจอยู่ในรูปของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือฐานข้อมูลออนไลน์

ความสำคัญของบรรณานุกรม รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ความสำคัญของบรรณานุกรม มีความสำคัญต่อนักวิชาการและผู้ที่ต้องทำงาน เกี่ยวข้องกับหนังสือและทรัพยากรสารสนเทศใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น บรรณารักษ์ นักจดหมายเหตุ ภัณฑารักษ์ นักสะสม ผู้ขายหนังสือ ตัวแทนจำหน่าย หนังสือ วารสารหรือฐานข้อมูล เป็นแหล่งสารสนเทศสำหรับใช้ค้นคว้าหารายการ ทรัพยากรสารสนเทศที่มีผู้ผลิตขึ้นในบรรณภิภพ

ข้อมูลที่ได้รับจากบรรณานุกรม รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ข้อมูลที่ได้รับจากบรรณานุกรม - บรรณานุกรมแต่ละรายการมักให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อผู้แต่ง(ผู้ผลิต) ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ (จัดทำ) ผู้จัดพิมพ์ (จัดทำ) สถานที่พิมพ์ (จัดทำ) และ ปีที่พิมพ์ (จัดทำ) - แบบแผนการลงรายการบรรณานุกรมอาจ แตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าผู้จัดทำจะยึด แบบแผนของหน่วยงานใด

แบบแผนการลงรายการบรรณานุกรม รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 แบบแผนการลงรายการบรรณานุกรม APA (American Psychological Association)1 Mitchell, T. R., & Larson, J.R., Jr. (1987). People in organizations : An introduction to organizational behavior (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.

Chicago Manual of Style2 รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 Chicago Manual of Style2 Mitchell, Terence R., and James R. Larson, Jr. People in Organizations : An Introduction to Organizational Behavior. 3d ed. New York : McGraw-Hill, 1987.

MLA (Modern Language Association)3 รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 MLA (Modern Language Association)3 Mitchell, Terence R., and James R. Larson,Jr. People in organizations : An introduction to Organizational Behavior. 3d ed. New York : McGraw-Hill, 1987.

Science (Scientific Style and Format)4 รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 Science (Scientific Style and Format)4 Mitchell, TR, Larson JR, Jr. 1987. People in Organizations : An Introduction to Organizational Behavior. 3d ed. New York : McGraw-Hill, 1987.

Mitchell, Terence R., and James R. Larson, Jr. รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 Turabian5 Mitchell, Terence R., and James R. Larson, Jr. People in Organizations : An Introduction to Organizational Behavior. 3d ed. New York : McGraw-Hill, 1987.

Style Manual (U.S. Government Style Manual)6 รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 Style Manual (U.S. Government Style Manual)6 Mitchell, Terence R., and James R. Larson, Jr.People in Organizations : An Introduction to Organizational Behavior. 3d ed. (New York : McGraw-Hill,1987).

ประเภทของบรรณานุกรม Arlene G. Taylor ได้แบ่งบรรณานุกรมออกเป็น 7 ประเภท รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ประเภทของบรรณานุกรม Arlene G. Taylor ได้แบ่งบรรณานุกรมออกเป็น 7 ประเภท 1. บรรณานุกรมแยกตามสาขาวิชา (Subject) เช่น The New Press Guide to Multicultural Resources for Young Readers 2. บรรณานุกรมแยกตามชื่อผู้แต่ง (Author) เช่น บรรณานุกรมศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน

ประเภทของบรรณานุกรม (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ประเภทของบรรณานุกรม (ต่อ) 3. บรรณานุกรมแยกตามภาษา (Language) เช่น An Extensive Bibliography of Studies in English, German, and French on Turkish Foreign Policy, 1923-1997 4. บรรณานุกรมแยกตามช่วงเวลาการผลิต (Time Period) เช่น British Women Writers, 1700-1850 : Annotated Bibliography of Their works and works About Them

ประเภทของบรรณานุกรม (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ประเภทของบรรณานุกรม (ต่อ) 5. บรรณานุกรมแยกตามภูมิภาค (Locale) เช่น บรรณานุกรมแห่งชาติ บรรณานุกรมสากล Area Bibliography of Japan 6. บรรณานุกรมแยกตามผู้จัดพิมพ์ (Publisher) เช่น The Stinehour Press : A Bibliographical Checklist of the First Thirty Years 7. บรรณานุกรมแยกตามรูปแบบทรัพยากรสารสนเทศ (Form) เช่น Maps and Mapping of Africa : A Resource Guide

Krishna Subramanyam ได้แบ่งบรรณานุกรมออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 Krishna Subramanyam ได้แบ่งบรรณานุกรมออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ 1. บรรณานุกรมฉบับปัจจุบัน (Current Bibliographies) 2. บรรณานุกรมฉบับย้อนหลัง (Retrospective Bibliographies) 3. บรรณานุกรมเฉพาะสาขาวิชา 4. บรรณานุกรมของบรรณานุกรม

1. บรรณานุกรมฉบับปัจจุบัน (Current Bibliographies) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 1. บรรณานุกรมฉบับปัจจุบัน (Current Bibliographies) รวบรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศที่เพิ่งมีการ จัดพิมพ์/จัดทำ มักอยู่ในรูปสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง 2. บรรณานุกรมฉบับย้อนหลัง (Retrospective Bibliographies) รวบรวมรายการทรัพยากร สารสนเทศที่จัดพิมพ์ในอดีตประมาณหนึ่งถึงสอง ศตวรรษที่ผ่านมา

ตัวอย่าง บรรณานุกรมฉบับปัจจุบัน ที่จัดทำโดย ห้องสมุด รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ตัวอย่าง บรรณานุกรมฉบับปัจจุบัน ที่จัดทำโดย ห้องสมุด - National Library of Medicine Current Catalog (https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/) -National Library of Medicine Publications Catalog (https://www.nlm.nih.gov/pubs/pubcat.html) -British National Bibliography (BNB) รวบรวมรายชื่อหนังสือและวารสารที่ตีพิมพ์ในประเทศอังกฤษที่ The British Library ได้รับตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1950 ปัจจุบันสามารถค้นหาผ่านเว็ปไซต์ - บรรณานุกรมแห่งชาติ (หอสมุดแห่งชาติ) - รายชื่อหนังสือใหม่ที่กำหนดเลข ISBN (หอสมุดแห่งชาติ) - บรรณานุกรมการเกษตรของประเทศไทย (สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

ตัวอย่าง บรรณานุกรมฉบับปัจจุบันที่จัดทำโดยหน่วยงานเอกชน รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 ตัวอย่าง บรรณานุกรมฉบับปัจจุบันที่จัดทำโดยหน่วยงานเอกชน - Books in Print (R.R.Bowker) ปัจจุบันอยู่ในรูปฐานข้อมูล (http://www.booksinprint.com/Login/Index) - American Book Publishing Record (Grey House Publishing) (http://www.greyhouse.com/bowk_abpr.htm) - Children’s Books in Prints (Grey House Publishing) - Law Books & Serials in Prints (Grey House Publishing)

บรรณานุกรมฉบับปัจจุบันที่จัดทำ โดยหน่วยงานเอกชน (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 บรรณานุกรมฉบับปัจจุบันที่จัดทำ โดยหน่วยงานเอกชน (ต่อ) - British Books in Print (Whitaker) - Cumulative Book Index : A World List of Books in the English Language (H.W. Wilson) - National Union Catalog (Rowman and Littlefield)

บรรณานุกรมฉบับย้อนหลัง รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 บรรณานุกรมฉบับย้อนหลัง - Reportorium Commentationum a Societatibus Litterariis Editorum (1801-1821) แบ่งเป็น 16 Volume Vol. 1 : Natural History Vol. 2 : Botany and Mineralogy Vol. 3 : Chemistry Vol. 4 : Physics Vol. 10-16 : Science and Medicine

บรรณานุกรมฉบับย้อนหลัง (ต่อ) รายวิชาแหล่งสารสนเทศ สัปดาห์ที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภทตามขั้นตอนการผลิต 19 มิถุนายน 2545 บรรณานุกรมฉบับย้อนหลัง (ต่อ) - A Catalogue of Sixteenth Century Printed Books in The National Library of Medicine, 1967. - American Medical Bibliography, 1639-1783.

บรรณนิทัศน์ (Annotated Bibliography) หมายถึง ข้อความโดยสรุปที่แสดงให้เห็นถึงขอบเขตเนื้อหาและประโยชน์ของทรัพยากรสารสนเทศแต่ละรายการ รวมถึงข้อคิดความเห็นที่ผู้เขียนบรรณนิทัศน์มีต่อการเขียนหรือการจัดทำทรัพยากรสารสนเทศรายการนั้น ๆ

What is an Annotated Bibliography? An annotated bibliography is a list of citations to books, articles, and documents. Each citation is followed by a brief (usually about 150 words) descriptive and evaluative paragraph, the annotation. The purpose of the annotation is to inform the reader of the relevance, accuracy, and quality of the sources cited. (http://guides.library.cornell.edu/)

Annotations VS. Abdtracts Abstracts are the purely descriptive summaries often found at the beginning of scholarly journal articles or in periodical indexes. Annotations are descriptive and critical; they may describe the author's point of view, authority, or clarity and appropriateness of expression.