นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 นพ.เจษฎา โชคดำรงสุข อธิบดีกรมควบคุมโรค ประชุมมอบนโยบายการดำเนินงานกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 วันที่ 19 ตุลาคม 2559 ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ มหานาค กรุงเทพฯ
นโยบายรัฐบาลในด้านสาธารณสุข การลดความเหลื่อมล้ำของสังคม และ การสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุขและสุขภาพของประชาชน
ที่มา : สนย สป มอบนโยบาย กทสธ ปี 2560, 15 กย 59 Achievement Motivation Mastery/ Expertise Integrity Service Mind Relationship Teamwork I SMART ที่มา : สนย สป มอบนโยบาย กทสธ ปี 2560, 15 กย 59
ที่มา : สนย สป มอบนโยบาย กทสธ ปี 2560, 15 กย 59 22/09/61
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ.คลินิก เกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร 1.งานสาธารณสุขตามแนวระราชดำริ 2. บูรณาการองค์ประกอบและบทบาทเขตสุขภาพ 3.ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานทุกระดับ 6. วิจัยและพัฒนาเพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาไทยและสมุนไพรไทยให้มีคุณภาพครบวงจร 5.ให้ความสําคัญในการพัฒนากําลังคนด้านสาธารณสุข 8. สนับสนุนกลไกการทํางานสาธารณสุขเพื่อสร้างความมั่นคงและความผาสุก สังคมไทย สังคมโลก 7. เร่งรัดปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานสาธารณสุข
เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค.59 เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค.59 โรคติดต่อสำคัญ 1 โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40) 2 โรคพิษสุนัขบ้า ปี 63 ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 3 โรคเรื้อน ปี 63 ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ ไม่เกิน 100 ราย 4 มาลาเรีย ปี 67 ทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย 5 เอดส์ ปี 73 ยุติปัญหาเอดส์ : No เด็กคลอดมาติดเชื้อ & ผู้ใหญ่ติดเชื้อรายใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย 6 วัณโรค ปี 63 อุบัติการณ์วัณโรคลง 20% โรคไม่ติดต่อ 7 บาดเจ็บจากการจราจร ปี 63 ควบคุมอัตราตาย 50% จากปี 54 8 โรคไม่ติดต่อ ปี 68 ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs ลง 25% ควบคุมปัจจัยเสี่ยง แอลกอฮอล์ ปี 68 ปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ต่อหัว ปชก. ต่อปี ลง 10% 10 ยาสูบ ปี 68 การบริโภคยาสูบลง 30 % 11 ความดันโลหิตสูง ปี 68 ความชุกภาวะความดันโลหิตสูงลง 25 % 12 เบาหวาน ปี 68 ความชุกของเบาหวานและโรคอ้วน ไม่ให้เพิ่มขึ้น แผนการดำเนินงานในปี 60 กรมยังคงยึด เป้าหมายป้องกันควบคุมโรค เพื่อการลดโรคและภัยสุขภาพ ซึ่งเป็นแผนระยะยาว ทั้งโรคติดต่อที่สำคัญ โรคไม่ติดต่อ การควบคุมปัจจัยเสี่ยง และโรคประกอบอาชีพ โรคจากการประกอบอาชีพฯ 13 เกษตรกรรม ปี 63 อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ไม่เกิน 9 : แสน ปชก.
วิสัยทัศน์กรมควบคุมโรค เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 ยุทธ ศาสตร์ ค่านิยมองค์การ I SMART พัฒนา ร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ พัฒนานวัตกรรม มาตรการ มาตรฐานและวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ ทั่วถึง ได้ผล เตรียมพร้อม ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว บริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เป็นหลักของประเทศ Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievement motivation Relationship Teamwork
ระบบการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Infrastructure Non-communicable disease DC SYSTEM DC System for National Security Excellence Center Surveillance EOC Agriculture/ Industry Occupational Health Special Setting/Pop Point of entry /Border Health /Migrant Acute/Chronic Infectious diseases Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Equipment/Laboratory HRP/HRD Information Technology International Training Center International Research Center แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2560-2564 1 ) เป้าประสงค์หลัก คือ ระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศที่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน 2) ประกอบด้วย 1) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ (Disease Control System for National Security) 2) แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (Excellence Center for Disease Control) 3) แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การอบรมระหว่างประเทศ (International Training Center) และศูนย์การวิจัยระหว่างประเทศ (International Research Center) 3) ขั้นตอนการจัดทำแผนยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2558 – 2562 ได้แก่ 1) กำหนดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ และหาส่วนขาด 2) ระบุความต้องการ/ความจำเป็นที่จะลงทุน 3) กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการเพื่อการลงทุน โดยจำแนกรายการการลงทุนเป็นรายปี หมายเหตุ: EOC หมายถึง Emergency Operation Center หรือศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การพัฒนาเชิงระบบ จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 2557-2561 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ผลสัมฤทธิ์คุณภาพการป้องกันควบคุมโรค ตามระบบสุขภาพอำเภอ : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ” (DHS/DC) แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง ลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ , จัดการข้อมูลเฝ้าระวังสอบสวนโรค , ป้องกันชุมชน สถานบริการสาธารณสุข ป้องกันและลดการตายจากการจราจรทางถนน ,ขับเคลื่อน Big City RTI , พัฒนาการสอบสวนและนำข้อมูลไปใช้ สร้างทีม Merit Maker และสื่อสารประชาสัมพันธ์ ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ , ควบคุมโฆษณาและส่งเสริมการขาย , สื่อสารสาธารณะ เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยม ,มาตรการระดับชุมชน, คัดกรอง บำบัดรักษา โรคจากอาชีพ&สิ่งแวดล้อม จัดบริการอาชีวอนามัยแรงงานในชุมชน พัฒนาเครือข่ายลดปัจจัยเสี่ยงการทำงานของแรงงานในชุมชนและนอกระบบ สนับสนุนสถานประกอบการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์ สนับสนุนสถานประกอบการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร เฝ้าระวัง คัดกรองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผ่านบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการฯ บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ ป้องกันควบคุมไข้เลือดออก/ไข้ซิกาเชิงรุกในพื้นทีเสี่ยง ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย : คัดกรองCXR กลุ่ม HIV/DM ผู้ต้องขัง ต่างด้าว ผู้สูงอายุ รักษา กินยาครบ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ : RRTTR/ลดการตีตรา ป้องกันควบคุมโรคตับอักเสบจากไวรัส: เข้าถึงการรักษา ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง โครงการพระราชดำริ Malaria ในโรงเรียน ตชด 196 รร. คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ โรคหนองพยาธิ ในพื้นที่ทุรกันดาร การพัฒนาเชิงระบบ บริหารแผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2560 – 2564 (Mega project) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ : ควบคุมโรคในช่องทางเข้าออกประเทศ ด่านฯ จว.ชานแดน / SEZ / Travel Medicine แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ : พัฒนา EOC ให้เกิดประสิทธิภาพเชื่องโยงระดับเขตและจังหวัด แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ขับเคลื่อน พรบ.โรคติดต่อ 2558 ให้เป็นรูปธรรมและเกิดประสิทธิภาพในระดับจังหวัดและอำเภอ บริหารจัดการงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2557 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นพัฒนา/สร้างความเข้มแข็งให้เกิด ดังนี้ 1) ระบบเน้น - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดพื้นที่การควบคุมโรคต้นแบบ ที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรคที่ยั่งยืน โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี พัฒนากลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สร้าง/พัฒนาความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D, KM, HTA) ผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน ที่ผ่านการทดสอบ ทดลองว่าได้ผล ในบริบทต่างๆ พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็นตัวแทนของกรมควบคุมโรคที่ได้รับการยอมรับด้านวิชาการ มีผลงานเชิงประจักษ์ (ในแต่ละปี) 2) ประเด็นโรคเน้น เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ - ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง - ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข => ในภาคอุตสาหกรรม => ในภาคเกษตรกรรม 9
นโยบายท่านอธิบดีกรมควบคุมโรค ปี 2560 ให้ความสำคัญสูงสุดต่อโครงการตามพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ : หนอนพยาธิ, พยาธิใบไม้ตับ เร่งรัดดำเนินการให้ได้ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์บูรณาการชาติ กระทรวง และ กรม : กลุ่มวัย พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ดิจิทัล ขยะ & สิ่งแวดล้อม วิจัย ปราบปรามทุจริต บังคับใช้กฎหมาย ATM, EOC, SAT ดำเนินการเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง/พื้นที่เสี่ยง ตามจุดเน้นแผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง โรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ และการพัฒนาเชิงระบบ ดำเนินการตามกรอบ 36 แผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ให้ได้ตามเป้าหมาย พัฒนาศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดทุกจังหวัด เร่งรัดพัฒนารูปแบบการควบคุมโรคในเขตเมืองให้สามารถขยายผลทันสถานการณ์ปัญหาเมืองใหญ่ บูรณการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับระบบสุขภาพอำเภอในการลดโรคที่เป็นปัญหาสำคัญเชิงคุณภาพ ขับเคลื่อนพ.ร.บ.โรคติดต่อ 2558 ให้การดำเนินงานเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพระดับจังหวัด & อำเภอ บริหารความเสี่ยงให้ Small Success 3, 6, 9, 12 เดือน บรรลุตามเป้าหมายตัวชี้วัดคำรับรอง การปฏิบัติราชการของกรมฯ และหน่วยงาน เร่งรัดติดตามผลงานและการเบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายปี 2560 และมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพของรัฐบาล
Performance Agreement : PA กรมควบคุมโรค ไม่เกิน 14 ต่อแสนประชากร 6 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละ 80 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 85 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 80 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) ร้อยละ 90 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย 1. ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 2. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 3. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVDs) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 5. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน 6. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 ไม่เกิน 14 ต่อแสนประชากร 5. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ลดลงร้อยละ 0.25 6. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่
การติดตามและประเมินผลกรมควบคุมโรค ปี 2560 1. กำกับติดตามเข้มข้น: - แผนงาน/โครงการลดโรคและภัยสุขภาพ (Quick win) ทุก 3 เดือน, 6 เดือน, 9 เดือน, 12 เดือน - เป้าหมายการให้บริการกรมฯ (PSA) รอบ 12 เดือน - ผลผลิตที่ 1 – 9 ของกรมฯ (SDA) ทุกเดือน - โครงการแก้ไขปัญหาพิเศษ (Hot Issue) เฉพาะพื้นที่ 2. ระบบบันทึกผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ (Estimates SM) 3. ระบบกำกับติดตามผล การเบิกจ่ายงบประมาณ (GFMIS) 4. การนิเทศงาน/ตรวจเยี่ยม หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค
ขอบคุณครับ