เรื่อง ผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม การสัมมนาวิชาการ เรื่อง ผลิตภัณฑ์เพื่อความงาม Aesthetic Products จัดโดย อาจารย์ไฉน น้อยแสง วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี 19 มีนาคม 2557 โรงแรมมารวย
กำหนดการบรรยาย * ความหลากหลายทางชีวภาพพืชในภูมิภาคต่างๆและภูมิปัญญา สมุนไพรชาติไทย * จารึกตำรายา : เส้นทางการค้นพบสารออกฤทธิ์ใหม่ๆ * การแยกและทดสอบทางเคมีและชีวภาพเพื่อค้นพบสารออกฤทธิ์ต่างๆ
โครงสร้างผิวหนัง Stratum corneum Stratum lucidum Stratum granulosum Stratum spinosum Stratum basale Epidermis Dermis Hypodermis Sebaceous gland Hair root Hair follicle Appocrine sweat gland Blood vessel
ช่องทางการดูดซึมของสารผ่านผิวหนัง สารสามารถดูดซึมผ่านผิวหนังได้ 3 ช่องทาง คือ ผ่านเซลล์ของผิวหนัง (transcellular route) ผ่านช่องว่างระหว่างเซลล์ (intracellular route) ผ่านช่องหรือท่อเปิดบริเวณผิวหนัง (appendageal route)
เครื่องสำอาง หมายถึง ผลิตภัณฑ์สิ่งปรุงเพื่อใช้บนผิวหนัง หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย โดยใช้ทา ถู นวด พ่น หรือโรย มีจุดประสงค์เพื่อทำความสะอาด หรือส่งเสริมให้เกิดความสวยงาม หรือเพื่อเปลี่ยนแปลงรูปลักษณะ แต่ไม่มีผลต่อโครงสร้างของร่างกายที่มีผลต่อการรักษาและป้องกันโรค การจัดผลิตภัณฑ์ให้เป็นยา เครื่องสำอาง หรือเวชสำอางขึ้นกับผลของสารสำคัญในผลิตภัณฑ์ในการดูดซึมผ่านผิวหนังโดย “ยา”, “เครื่องสำอาง” หรือ “เวชสำอาง” มีข้อแตกต่างกันในด้านต่างๆ ดังนี้ การออกฤทธิ์ต่อโครงสร้างของผิวหนัง ประสิทธิภาพในการรักษา/ป้องกัน ประเภทและองค์ประกอบในตำรับ การตั้งตำรับและการพัฒนา การดูดซึมผ่านผิวหนัง
ความแตกต่างระหว่างเครื่องสำอาง เวชสำอาง และยา ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา - + ผลกระทบต่อโรคหรือโครงสร้างของผิวหนัง ผลกระทบต่อความผิดปกติของผิวหนัง ผลข้างเคียง ± ถูกดูดซึมเข้าชั้น Stratum corneum ถูกดูดซึมเข้าชั้น VED(viable epidermis + dermis) ถูกดูดซึมเข้าสู่ระบบไหลเวียนโลหิต
ผลของการให้สารผ่านทางผิวหนัง 1. เคลือบบนผิวในชั้น stratum corneum (substantivity) 2. ผลเฉพาะที่บริเวณ epidermis (local effect) 3. ผลทั่วร่างกาย เข้าสู่ชั้น dermis/viable epidermis และ blood vessel (systemic effect) 1 และ 2 Cosmetics 2 และ 3 Pharmaceuticalcosmetics
โครงสร้างผิวหนัง Stratum corneum Stratum lucidum Stratum granulosum Stratum spinosum Stratum basale Epidermis Dermis Hypodermis Sebaceous gland Hair root Hair follicle Appocrine sweat gland Blood vessel
Types of Topical Formulations: 1. Aesthetic Cosmetics Color cosmetics 2. Functional Cosmetics (Pharmaceuticalcosmetics) Anti-aging Whitening Sunscreening 3. Dermatological Products for Skin Treatment (Drugs) Atopic dermatitis Skin infection Inflammation Acne Eczema
Collagen and elastin degradation Skin “Aging” Factor involvement Sun block antioxidant Anti infection Anti inflammation Anti tyrosinase enzyme Gelatinases inhibition Collagen / elastin synthesis stimulatiom Skin hydrate Oxygen sensitive Sun Burn inflammatory Infection Hyperpigmentation Collagen and elastin degradation Skin dehydration Photoaging Acne Melanin Wrinkle
การพัฒนาส่วนของสารสกัดหรือสารออกฤทธิ์ ตำราและจารึกโบราณ ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาโรค ภูมิปัญญาพื้นบ้าน การศึกษาฤทธิ์ชีวภาพเพื่อคัดเลือกตำรับ การพัฒนาส่วนของสารสกัดหรือสารออกฤทธิ์
Cellular Oxidative stress Antioxidant assay Cellular Oxidative stress Vitamin C Vitamin E Glutathione Carotenoids Other Antioxidants in cosmeceutical oxidative enzyme Superoxide Glutathione peroxidase Catalase Antioxidant capacity
Quantitative determination Antioxidant activity determination Antioxidant assay Quantitative determination Antioxidant activity determination DPPH Method FRAP Method ABTS Method ORAC Method Vitamin C Phenolics Carotenoids Glutathione
Antioxidant activity determination DPPH assay (2,2-Diphenyl-1-picrylhydrazyl) O.D . 515 nm วัดความสามารถในการกำจัดอนุมูลอิสระ โดยการถ่ายโอน Hอะตอม จากสาร antioxidant ไปยังอนุมูลอิสระ Vitamin C was used for standard K. Thaipong et al. / Journal of Food Composition and Analysis 19 (2006) 669–675
Colorimetric Nitric Oxide Assay Nitrite + Griess reagent Purple azo compound (absorbance at 540 nm) Nitrate A cadmium-copper Nitrite (reduction) Sample test tissue or cell samples are homogenized Use supernatant for NO assay Activation of cadmium-copper + griess reagen OD 540 nm Nitrite standards Nitrate std. nitrate standards serially diluted from 200 to 3.13 μM Standard Curve
Hair Care Products Require Products Hair growth promoter ผลิตภัณฑ์กระตุ้นการเจริญเติบโตของเส้นผม Anti-hair loss ผลิตภัณฑ์ต้านการหลุดร่วงของเส้นผม Oily & dry hair ผลิตภัณฑ์สำหรับผมมัน และผมแห้ง Anti-dandruff ผลิตภัณฑ์รักษารังแค
Basic structure of hair shaft The scalp hair cortex cuticle root Scalp hair shaft structure (3 layers)…medulla/cortex/cuticle Scalp hair root structure * below the surface of the skin * enclosed within a hair follicle * base of hair follicle is the dermal papilla (contains receptors) hair root The structure of the hair (www. Alopecia - hair loss - DolceraWiki.htm)
Hair-follicle cycling and Signaling molecules controlling hair growth The hair growth cycle (3 stages ) growth (anagen) transitional (catagen) resting (telogen) Stimulating effect on hair growth Inhibitory effect on hair growth Selected factors with known hair growth regulatory roles McElwee & Sinclair, 2008
Hormone Non-hormone Other Causes of hair loss Causes of dandruff Hormone androgenetic alopecia (causes from typeII 5α-Reductase) Skin oil (sebum or sebaceous secretions) skin micro-organisms Individual susceptibility Non-hormone Cicatricial (scarring) alopecia Alopecia areata Telogen effluvium Other Poor nutrition Disease Medical treatments Hair treatments Scalp infection
Anti-microbial test Malassezia furfur (Pityrosporum ovale), fungus –cause of dandruff Disc dilution method Broth dilution method Spread fungal suspension on a agar plate Two-fold dilution of the test sample Placed the sterile paper discs with test samples on the top of agar Test sample dilution + fungal cell suspension The inhibition zones were observed and recorded Calculate as MIC, MBC
The backs of mice were shaved Agent was applied topically Animal test Control group Treated group C57BL mice / C3H mice / wistar albino rats The backs of mice were shaved Agent was applied topically Rho et al., 2005 Observed the darkening on the skin color, histological profiles of skin or immunohistochemical expression Harada et al., 2008
Product Design Commercialization Plan Market Research And Fashion Trends Basic and Applied Research and Development Product Design Contents/Basic Formula Raw Material/Coloring agent/Fragrances/ Additives Packaging Material Glass/bottle/Synthetic Resin Cont/Metal Cont.&tubes/Wrapping Paper
Stability Formulating & Packaging Testing Psychology Sensory Test Usability Safety Efficacy Usage testing Formulation Manufacturing Method Container Specification
Development of New Raw material. Mass Production Tech investigation Application under Pharmaceutical law Manufacture Approval of Product Product Development of New Raw material. New Formulation , New Technique DDS. Liposomes
Classification of cosmetics For Skin Insect Repellent Lotions and Sprays Insect Repellents Bleaching Creams, Depilatory Creams Bleaching, Depilatory Deodorant Sprays Antiperspirants and Deodorants Sunscreen Creams, Sun Oils Suncares and Suntans Nail Enamels, Nail Polish Removers Nail Care Lipstick, Blushers, Eye Shadow, Eye Liners Point Makeups Milky Lotions, Moisture Creams Protectors Lotions, Packs, Massage Creams Conditioners Soaps, Liquid Cleansers, Bath Preparations Bath Body cosmetics Foundations, Face Powders Base makeups Makeup cosmetics Face Cleansing Creams and Foams Cleansers Skin care cosmetics Main Product Usage Classification
For Hair and Scalp Main Product Usage Classification Scalp Treatments Hair Colors, Hair Bleaches, Color Rinese Hair Colors and Bleaches Hair Mousses, Hair Liquids, Pomades Hair Styling Rinses, Hair Treatments Hair Growth Promoters, Hair Tonics Hair Growth Promoters Scalp care Cosmetics Permanent Waves Lotions (Agent No.1, No.2) Permanent Waves Hair care cosmetics Shampoos Cleansing Main Product Usage Classification
For Oral Main Product Usage Classification Mouthwashes Perfumes, Eau de Colognes Fragrances Oral care Cosmetics Toothpastes Main Product Usage Classification
เครื่องสำอาง/เวชสำอางที่ใช้กับผิวพรรณ จะมี จุดมุ่งหมาย ดังต่อไปนี้ 1. ทำความสะอาดผิว 2. คงสภาพความชุ่มชื้นให้แก่ผิวหนัง ป้องกันการระเหย ของน้ำจากผิว 3. คงสภาพผิวให้เซลล์ทำงานได้ตามปกติ มีความเต่งตึง ไม่เหี่ยวย่น 4. ป้องกันรังสีอัลตราไวโอเล็ต เนื่องจากรังสีอัลตรา ไวโอเล็ต จะทำลายเซลล์และทำให้ผิวพรรณแก่ก่อนวัย
เครื่องสำอาง/เวชสำอางสำหรับบำรุงผิวพรรณ แบ่งได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1. เครื่องสำอางที่ใช้ทำความสะอาดผิว (Cleansing Cosmetic) 2. เครื่องสำอางที่ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิว (Moisturizer) 3. เครื่องสำอางที่ทำให้ผิวนุ่มเรียบสวยงาม (Skin Treatment) 4. เครื่องสำอางที่ป้องกันแสงแดด (Photoprotection)
ผิวหนังจะแบ่งได้เป็น 4 ชนิด ได้แก่ -ผิวแห้ง (Dry Skin) -ผิวมัน (Oily Skin) -ผิวปกติ (Normal Skin) -ผิวผสม (Combination Skin (T-Zone))
ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดผิว วัตถุประสงค์ : ขจัดสิ่งสกปรกจากผิวหน้า : ฝุ่นละอองและสิ่งต่าง ๆ ในบรรยากาศ รวมถึงเชื้อจุลินทรีย์ : สิ่งที่เกิดจากการทำงานของผิว เช่น เซลล์ที่ ตายแล้ว เหงื่อ น้ำมันส่วนเกินบนผิวหน้า ฯลฯ : เครื่องสำอางที่ใช้ตกแต่งผิวหน้า
คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด : ขจัดสิ่งสกปรกได้ดี : ไม่ทำอันตรายแก่ผิว : ทำให้สุขภาพผิวดี สวยงาม และนุ่มนวล
เครื่องสำอางสำหรับทำความสะอาดผิว สบู่และสารลดแรงตึงผิว สบู่เหลว /เจล ครีม/โลชัน/น้ำนม โทนเนอร์ micelles nanoemulsion micelles
ส่วนประกอบในโทนเนอร์ ได้แก่ สารฝาดสมาน ทำให้ผิวกระชับขึ้น เรียบขึ้น ลดความมัน สารเหล่านี้ ได้แก่ แอลกอฮอล์ เช่น ethanol, isopropanol (ใช้ 5-25 %) กรดที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ เช่น lactic acid, citric acid เกลือของกรดอินทรีหรืออนินทรีย์ เช่น aluminium sulfate และ aluminium lactate สารสกัดจากพืช เช่น tannin และ witch hazel
เครื่องสำอางที่ให้ความชุ่มชื้น (Moisturizers) แบ่งได้ 5 ประเภทคือ -เครื่องสำอางสำหรับกลางวัน (Day Preparation) -เครื่องสำอางสำหรับกลางคืน (Night Preparation) -โลชันทาผิว (Hand and body lotion) -เครื่องสำอางอเนกประสงค์ (All purpose product) -เครื่องสำอางสำหรับกันน้ำ (Barrier Cream)
สาเหตุของการเกิดผิวแห้ง 1. สภาวะแวดล้อม 2. การทำความสะอาดผิว 3. การตากแดด 4. อายุเพิ่มขึ้น 5. การเกิดพยาธิสภาพที่ผิวหนัง
What is skin moisturization? Skin feel produced by a cosmetic product Net positive hydration of the skin
Mechanism of moisturization Humectancy (cellular humectancy) Occlusion (intercellular occlusion)
Moisturizer คือ สารที่ให้ความชื้นได้ หรือเก็บความชื้นได้ หรือสารที่ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิว - Glycerin - Sodium PCA - Urea - Sodium lactate - Sodium hyaluronate - Chitosan
Moisture binding by PCA salts compared to three popular polyols (65% relative humidity). Ajinomoto Company graph.
Emollient คือสารที่ทำให้ผิวนุ่ม โดยการป้องกันการระเหยของน้ำจากผิว เก็บความชื้นได้ Water soluble (Moisturizer) Oil soluble - Squalane (Hydrocarbon) - Stearic acid (Fatty acid) - Mineral oil (Hydrocarbon) - Cetyl alcohol (Fattiy alcohol) - Jojoba oil (Vegetable oil) - Lanolin derivatives - Triglyceride ester (Fats & oil) - Lecithin (Phospholipid) - Isopropyl myristate (Alkyl ester)
Humectant คือ สารซึ่งดูดซึมได้ / ช่วยให้สารอื่นมีความชื้นได้ คือ สารซึ่งดูดซึมได้ / ช่วยให้สารอื่นมีความชื้นได้ ดูดความชื้นจากสิ่งแวดล้อมให้ผิว - Glycerin - Polyhydric alcohol
(Normal Moisturizing Factor) N.M.F. (Normal Moisturizing Factor) Amino acid 40% PCA 12% Lactate 12% Urea 7% NH3, uric acid, glucosamine,Creatinine 1.5% Citrate 0.5% Na, K, Ca, Mg, PO4, Cl 18.5% Sugar, organic and peptide unidentified material 8.5%
ส่วนประกอบของ Human Sebum บริสุทธิ์ Glyceride 50% Wax 20% Squalene 10% Free fatty acid 5% Branched chain hydrocarbon 5% Free cholesterol 1% Cholesterol esters 4% Other sterols 1% Other substance 4%
Composition of human skin surface lipid Lipid Average Amount wt% Range wt% Triglycerides 41.0 19.5-49.4 Diglycerides 2.2 2.3 - 4.3 Fatty acids 16.4 7.9 - 39.0 Squalene 12.0 10.1 - 13.9 Wax esters 25.0 22.6 - 29.5 Cholesterol 1.4 1.2 - 2.3 Cholesterol esters 2.1 1.5 - 2.6
Skin Treatment เครื่องสำอาง/เวชสำอางที่ทำให้ผิวนุ่มเรียบสวยงาม เครื่องสำอางสำหรับกลางคืน เครื่องสำอางสำหรับลดริ้วรอย โลชันทาผิว เครื่องสำอางสำหรับป้องกันน้ำ
Active Ingredient in Skin treatment Vitamin : Vitamin A, Retinol, Vitamin E, Nicotinamide Protein : Peptide, Amino acid, Collagen, Micro collagen Skin fat : Ceramide, Squalane Hormone : Oestrogen Hydroxy acid : Lactic acid, Citric acid, Malic acid Herbal extract
สารสกัดจากสมุนไพรที่ใช้ในผลิตภัณฑ์บำรุงผิว ชาเขียว บัวบก ขมิ้นชัน เห็ดหลินจือ แปะก๊วย วิทซ์ฮาเซล น้ำมันรำข้าว ว่านหางจระเข้ เมล็ดองุ่น
เครื่องสำอางป้องกันแสงแดด Suntan Cosmetic Sunscreen Cosmetic Aftersun Cosmetic
Solar radiation VIS = Visible radiation (400-760 nm) IR = Infrared radiation > 760 nm VIS = Visible radiation (400-760 nm) UVR = Ultraviolet radiation (290-400 nm) UVA = 320-400 nm UVB = 290-320 nm UVC < 290 (Absorbed by Ozone)
Effect of Solar Radiation : Sunburn : Suntanning : Immunosupression : Photoaging : Solar keratosis : Malignant melanoma : Vitamin D synthesis
Sunscreen : To screen the sun : To protect or shelter viable cells of the skin against potentially harmful effect of solar UV radiation : To absorb, reflect or scatter UV radiation
Topical Products against sunburn : Solutions : Creams : Lotions : Oils : Gels
Sunscreens : Photoprotectants Chemical UV filter Physical suncreens : PABA derivatives : Micronized Titanium dioxide : Salicylates : Micronized Zinc Oxide : Cinnamates : Benzophenones : Antranilates : Dibenzoylmetanes : Camphor Derivatives : Miscellaneous chemical
SPF = Sun Protection Factor MED ของผิวที่ทาสารป้องกันแสงแดด MED ของผิวที่ไม่ได้ทาสารป้องกันแสงแดด =
MED = Minimal Erythema Dose = เวลาที่ใช้ในการทำให้ผิวหนังเกิดอาการร้อนแดงจากแสงอัลตราไวโอเล็ตที่เกิดขึ้นและจางหายไป ที่สังเกตเห็นได้หลัง 6 ชั่วโมงต่อมา และยังคงปรากฏอยู่หลังจาก 24 ชั่วโมง
UVB Sunburn (erythema) peak intensity 20-24 h after exposure Tanning (melanogenesis) UVA delayed erythema (peaking 10-12 h after exposure) Immediate tanning (immediate pigment darkening, IPD) new melanin formation (melanogenesis, Persistent pigment darkening, PPD)
ผลิตภัณฑ์ทำให้ผิวขาว Whitening Products
Tyrosinase inhibition Assay L-Tyrosine L-DOPA Dopaquinone Eumelanin Pheomelanin melanocyte Tyrosinase inhibitor X Tyrosinase Rate limiting step TYROSINASE INHIBITION ASSAY
กลไกทำให้สีผิวจางลง 1. ทำลาย melanocyte 2. ขัดขวางกระบวนการเกิด biosynthesis ของเมลานินและ precursor 3. ทำให้ enzyme tyrosinase หมดฤทธิ์ 4. ขัดขวางการส่งผ่านเมลานินแกรนูลไปยัง mulpighian cell 5. เปลี่ยนแปลงลักษณะของเมลานิน 6. ป้องกันแสงแดด
Anti tyrosinase Assay 96 well Microplate Assay Format Enzyme : Mushroom tyrosinase, Substrate : L-DOPA, L-tyrosinase Blank Control Mixture Enzyme Substrate Test conpound / Control % Inhibition = [(A - B)/A] x 100 A คือ Abs of blank B คือ Abs of Sample / Control OD 475 nm for 20 min
ประเภทและชนิดของสารที่ใช้ ปกคลุมผิว Titanium dioxide Zinc oxide Oxidizing agent Hydrogen peroxide
ป้องกันการทำงานของ enzyme tyrosinase Arbutin Glabridin derivative Kojic acid สารสกัดพืชสมุนไพร
สารสกัดธรรมชาติ หม่อน มะขามป้อม แบร์เบอรี่ มะหาด ขมิ้น ชะเอมเทศ มะนาว
น้ำมันหอมระเหย น้ำมันที่เตรียมจากธรรมชาติโดยสกัดจากสัตว์หรือส่วนของพืช ได้แก่ กลีบดอก ผล ใบ เมล็ด ยาง เปลือก เนื้อไม้และราก มีลักษณะเป็นของเหลวที่มีองค์ประกอบทางเคมีต่างๆสลับซับซ้อน และแตกต่างกัน คุณสมบัติที่สำคัญ คือ มีกลิ่น และ ระเหยได้ง่ายที่อุณหภูมิห้อง น้ำมันที่ได้จากการนำสารประกอบทางเคมีต่างๆที่ได้จากการสังเคราะห์มาผสมกันเพื่อให้มีกลิ่นหอมเลียนแบบธรรมชาติ ซึ่งมีราคาถูกกว่า แต่อาจก่อการแพ้และไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากจะต้องทำการผลิตองค์ประกอบเหล่านี้ด้วยวิธีทางเคมี ราคา (บาท/กิโลกรัม): จากธรรมชาติ จากการสังเคราะห์ Musk 4,500,000 750 Jasmin 90,000 300 Rose 150,000 375
Aroma Therapy Aroma แปลว่า กลิ่น, กลิ่นหอม Therpy แปลว่า การบำบัดรักษา Rene Maurice Gattefosse นักเคมีชาวฝรั่งเศส นำมาใช้เป็นครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ.1928
Aroma Therapy อโรมา-เธราปี เป็นการนำประโยชน์ของน้ำมันหอมระเหย ทำให้ร่างกาย จิตใจอารมณ์เกิดความสมดุล กลิ่นที่มนุษย์สัมผัสจะผ่าน Olfactory nerves ซึ่งอยู่เหนือโพรงจมูก (nasal cavity) เมื่อกลิ่นต่างๆ จากโมเลกุลของละอองเกสรดอกไม้ผ่าน Olfactory bulbs ที่ต่อกับลิมบิค ซีสเต็ม (Limbic system) ซึ่งเป็นสมองส่วนควบคุมอารมณ์และความทรงจำ
ไอจากน้ำมันหอมระเหยจะผ่านลมหายใจเข้าสู่ปอด และผ่านไปยังศูนย์ควบคุมการทำงานของสมองไปยังต่อมประสาท ต่อมสมองแล้วหยุดที่ระบบความจำ ซึ่งจะกระทบต่ออารมณ์ ความรู้สึก ทำให้รู้สึกสบาย กลิ่นหอมที่ไปสู่ระบบควบคุมประสาท จะทำให้ความคิดโลดแล่น เมื่อกระทบต่อมฮอร์โมนก็กระตุ้นให้ฮอร์โมนหลั่ง endrophine ช่วยคลายเครียดกระปรี้กระเปร่าไม่ซึมเศร้า
น้ำมันหอมระเหย สกัดมาจาก ผล ดอก ใบ เมล็ด เปลือก ก้าน ฯลฯ วิธีการสกัดที่นิยมใช้ในปัจจุบัน คือ การกลั่นด้วยไอน้ำ และการใช้ สารเคมีเป็นตัวทำลาย การสร้างสรรค์ให้ได้กลิ่น โดยปกติแล้ว มี 3 ขั้นตอน คือ สกัด สังเคราะห์ ประกอบสร้างขึ้นใหม่
กลิ่นสังเคราะห์จากสารเคมี เซอร์วิลเลี่ยม เฮนรีเบอร์กิน (นักเคมีชาวอังกฤษ) ได้สกัดกลิ่นหอม จากสารเคมีขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ.1863 กลิ่นหอมกลิ่นแรกที่คิดค้นได้เป็นกลิ่นที่คล้ายกับกลิ่นอัลมอลด์ ซึ่งเป็นกลิ่นไนโตรเบนซิน ได้มาจากสารสังเคราะห์ จากกรดไนตริก และเบนซิน
สารหอมระเหยที่ได้จากสัตว์ กลิ่นอำพัน หรืออำพันทอง (ambergris) จากปลาวาฬหัวทุย กลิ่นชะมด กลิ่นที่ได้จากชะมด กลิ่นจากบีเวอร์ กลิ่นจากกวาง (Musk deer, Moschus mos-chiferus) ชะมด Musk deer
น้ำมันหอมระเหยที่สกัดได้จากพืชธรรมชาติ เปลวไฟย่างท่อนไม้ ต้มด้วยความร้อน หีบ กลั่น การสกัดด้วยวิธีแช่ดอกไม้ลงใน สารละลายที่ระเหยเร็วมาก การสกัดด้วยการดูดซึมด้วยความเย็น
องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหย แบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม Alcohols มีคุณสมบัติ ฆ่าเชื้อโรค ต้านเชื้อไวรัส ยกระดับจิตใจ ได้แก่ Linalol, citronellol, menthol Aldehydes มีฤทธิ์ในการระงับประสาท ยกระดับจิตใจ ลดการอักเสบ ลดความอ้วน ขยายหลอดเลือด และมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อโรค ได้แก่ Cidral, citronellal, neral, geranial 3. Esters มีคุณสมบัติระงับประสาท สงบอารมณ์ ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบ และต้านเชื้อราได้แก่ linalyl acetate, geranyl acetate, bomyl acetate
องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหย (ต่อ) 4. Ketones มีคุณสมบัติช่วยขยายหลอดลม ละลายเสมหะ เสริมสร้างเนื้อเยื่อ และลดการอักเสบได้แก่ Jasmone, fenchone camphor, carvone Oxides มีคุณสมบัติในการขับเสมหะ ละลายเสมหะที่สำคัญได้แก่ Cineol นอกนั้นก็มีสารที่มีคุณสมบัติฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และการกระตุ้น ระบบประสาทได้แก่ Linalol oxide, ascaridol, bisabolol oxide, bisabolon oxide 6. Phenols มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย กระตุ้นระบบประสาท และภูมิต้านทานของร่างกายได้แก่ Eugenol thymol earvacrol
องค์ประกอบทางเคมีของน้ำมันหอมระเหย (ต่อ) 7. Terpenes มีฤทธิ์ในการต้านเชื้อและลดการอักเสบ ประกอบด้วย Camphene, cadinene, caryophyllene สาร sesquiterpenes เช่น chamazulene farnesol มีฤทธิ์ในการลดการอักเสบและต้านเชื้อแบคทีเรีย สาร limonene มีคุณสมบัติต้านไวรัส pinene มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ
Aroma Therapy กับการบำบัดรักษาโรค การนวด การอาบ การประคบ การสูดดม การสูดไอน้ำ การเผา-อบห้อง ใช้ผสมกับเครื่องหอม ใช้ผสมกับเครื่องสำอางค์
ประโยชน์ของน้ำมันหอมระเหย น้ำมันหอมระเหย-โรสแมรี่ ช่วยขจัดแบคทีเรีย-ขับเชื้อโรค ทำให้สดชื่นแจ่มใสช่วยให้มีสมาธิและมีกำลังใจ 2. น้ำมันหอมระเหย-ลาเวนเดอร์ ช่วยกำจัดแบคทีเรีย และช่วยกระตุ้นให้ร่างกายขับเชื้อโรคออกไป ทำให้สงบ และผ่อนคลาย ช่วยให้อารมณ์ เกิดความสมดุล
ประโยชน์ของน้ำมันหอมระเหย 3. น้ำมันหอมระเหย-ยูคาลิปตัส ช่วยให้หายใจโล่ง ช่วยให้มีความ กระจ่าง ปลอดโปร่งและมีสมาธิ มีคุณสมบัติในการขจัดแบคทีเรีย 4. น้ำมันหอมระเหย-เป๊ปเปอร์มินต์ ช่วยกำจัดแบคทีเรีย ช่วยให้จิตใจ แจ่มใส ปลอดโปร่ง ช่วยให้สดชื่นและมีชีวิตชีวา 5. น้ำมันหอมระเหย-กระดังงา (อีแลงอีแลง) ช่วยให้มั่นใจ และจิตใจ สบาย ให้ความรู้สึกคลาสสิก ให้ความอบอุ่นและอารมณ์ รัญจวน
ประโยชน์ของน้ำมันหอมระเหย น้ำมันหอมระเหย-มะลิ (จัสมิน) ช่วยให้เกิดความมั่นใจ มองโลก ในแง่ดี ช่วยผ่อนคลายและเกิดอารมณ์รักใช้ได้กับทุกประเภทผิว น้ำมันหอมระเหย-ไม้ซีดาร์ ช่วยให้รู้สึกสงบและผ่อนคลาย 8. น้ำมันหอมระเหย-จากส้ม ช่วยให้การเผาผลาญพลังงาน เป็นไปตามปกติ ช่วยให้สดชื่น ผ่อนคลายความตึงเครียด จากการทำงาน หนักมาทั้งวัน และยังให้ความรู้สึกเย้ายวน
ตัวอย่างสารประกอบทางเคมีที่มีในน้ำมันหอมระเหย น้ำมันหอมระเหย (น้ำหอม) สารประกอบหลักทางเคมี น้ำมันดอกมะลิ (Jasminium offcinale) benzyl acetate, jasmone linalol, geraniol, -pinene, myrene, terpineol-4 น้ำมันดอกกระดังงา (Cananga odorata) geraniol, linalol, ylangol, benzyl acetate, p-carsyl, methylether น้ำมันอบเชย (Cinnamonnum zeylanicum) cinnamic aldehyde, eugenol น้ำมันตะไคร้หอม (Cymbopogon nardus) citronellal
ประเภทของน้ำหอมแบ่งตามความสามารถในการระเหยของสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบ ดังนี้ Top note : สารประกอบที่ให้กลิ่นนำได้แก่สารที่ระเหยง่าย เช่น benzaldehyde, benzyl acetate Middle note : สารประกอบที่ให้กลิ่นตามจาก Top Notes ได้แก่สารที่ระเหยช้ากว่าประเภทแรก เช่น cinnamyl acetate, citronella Basic note : สารที่ให้กลิ่นหลังสุด สารเหล่านี้ระเหยได้ช้าที่สุด และเป็นกลิ่นที่ติดทน เรียกอีกชื่อว่า “Fixative” เช่น amyl phenyl acetate, hydroxy citronella, musk, ambrette, amyl cinnamic aldehyde
ตัวอย่างส่วนประกอบทางเคมีที่มีในน้ำหอม: กลิ่นกุหลาบ (Rose) % Citronellal....................................................... 20 Phenyl ethyl alcohol......................................... 10 Top Note Geraniol palmarosa......................................... 20 Rhodinol.......................................................... 20 Guaiac wood.................................................... 5 Eugenol............................................................ 0.5 Middle Note Ionone alpha..................................................... 7 Cinnamic alcohol............................................. 5 Phenyl acetic acid.............................................. 4 Phenyl acetic aldehyde....................................... 0.3 Trichlor phenyl methyl Basic Note carbinyl acetate.................................................. 8 Undecylenic aldehyde........................................ 0.2 รวม 100
น้ำมันหอมระเหยไทยที่มีการนำมาใช้ทางเครื่องสำอาง น้ำมันจากผิวผลมะกรูด (Citrus hystrix DC.) ได้จากผิวของผลมะกรูด มีกลิ่นสดชื่น เปรี้ยว-หวาน ช่วยกระตุ้นการเจริญของเส้นผม น้ำมันดอกมะลิ (Jasminum sambac (L.) Ait.) สกัดจากดอก มีกลิ่นหอมหวาน ประกอบด้วยสารหอมมากกว่า 100 ชนิด มีสรรพคุณให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง น้ำมันตะไคร้ (Cymbopogon citratus Stapf.) สกัดได้จากส่วนต้น กลิ่นคล้ายมะนาวและส้ม มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา ใช้กับผู้ที่มีผิวมันและสิว น้ำมันแมงลัก (Ocimum bassilicum Linn.forma citratum Back.) ได้จากส่วนใบ มีกลิ่นคล้ายมะนาว มีสรรพคุณต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่น และยับยั้งเชื้อ P. acne ได้ดีเมื่อใช้ร่วมกับน้ำมันกระเพรา โหระพา และตะไคร้
น้ำมันแฝกหอม (Vetiveria zizaniodes Stapf.) สกัดได้จากราก มีกลิ่นคล้ายดินและรากไม้ มีสรรพคุณยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและเชื้อรา ใช้รักษาสิว น้ำมันโหระพา (Ocimum basilicum Linn.) สกัดจากใบ ให้กลิ่นสดชื่น มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ มีการนำมาใช้เป็นหัวน้ำหอมในการผลิตสบู่ และผลิตภัณฑ์ในช่องปาก น้ำมันกระดังงา (Cananga odorata) สกัดได้จากดอก มีกลิ่นหอม ใช้ในเครื่องหอม ช่วยกระตุ้นการเจริญของเส้นผม
การใช้ประโยชน์สมุนไพรที่ใช้ในเครื่องสำอาง แบ่งตามคุณสมบัติ 1. สารหอม และสารแต่งกลิ่นหอม (Fragrance) 2. สารชำระล้าง (Cleansing) 3. สารฝาดสมาน (Astringent) 4. สารลดอาการอักเสบ (Anti-inflammatory) 5. สารปรับสภาพผิวนุ่มและสารหล่อลื่น 6. สารลบรอยเหี่ยวย่น (Anti-wrinkle) 7. สารชะลอวัย (Anti-aging) 8. สารชะลอวัย (Whitening) 9.สารแต่งสี (Coloring)
ข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ชื่อไทย (Thai name) ชื่ออังกฤษ (English name) ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) ชื่ออื่น ๆ (Other name) วงศ์ (Family) ส่วนที่ใช้ (Part used) แหล่งที่มา (Source) กรรมวิธีการผลิต (Processing) สารสำคัญ (Active Constituents) วิธีวิเคราะห์ (Analytical Method)
ข้อมูลที่จำเป็นต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร สรรพคุณที่ระบุในภูมิปัญญา (Traditional and Ethno – medical use) ประโยชน์ต่อสุขภาพ (Health benefit) ขนาดที่ใช้ (Dose) อาการไม่พึ่งประสงค์ (Adverse effect) ข้อควรระวัง คำเตือน การศึกษาในมนุษย์ (Clinical study) การศึกษาทางเภสัชวิทยา (Pharmacological study) เอกสารอ้างอิง (Reference) (เพิ่มเติม) Health Benefit และ ข้อมูลการใช้ในอาหาร-เครื่องสำอาง
พืชสมุนไพร ชื่อวิทยาศาสตร์ ส่วนที่ใช้ คุณสมบัติ หมี่ Bai Mee Litsea glutinoua (Lour.) ใบ ต้านการเจริญของจุลินทรีย์ บำรุงเส้นผมกระตุ้นการเจริญเติบโตของเส้นผม อัญชัน Butterfly Pea Clitoria ternatea Linn. ดอก กระตุ้นการเจริญเติบโตของเส้นผม บำรุงเส้นผม ช่วยทำให้ผมดำเงางาม มะกรูด Kaffir lime Citrus hystrix DC. ผิวผล ช่วยขจัดรังแค บำรุงเส้นผม กระตุ้นการเจริญเติบโตของเส้นผม ขิง Ginger Zingiber officinale Rosc. เหง้า ต้านการเจริญของจุลินทรีย์ บำรุงเส้นผม
พืชสมุนไพร ชื่อวิทยาศาสตร์ ส่วนที่ใช้ คุณสมบัติ ทับทิม Pomegranate Punica granatum Linn. ผล ช่วยทำให้ผิวขาว/ชะลอวัย/ต้านอะนุมูลอิสระ/ต้านการอักเสบ/ป้องกันแสงยูวี มะขามป้อม Euphorbiaceae Phyllanthus emblica ช่วยทำให้ผิวขาว/ชะลอวัย/ต้านอะนุมูลอิสระ/ต้านการอักเสบ/ยับยั้งเชื้อจุลทรีย์ บัวบก Asia Pennywort Centella asiatica (L.) Urb. ใบ ชะลอวัย/กระตุ้นการสังเคราะห์คอลลาเจน/เพิ่มความชุ่มชื้น ว่านหางจระเข้ Aloe vera Aloe barbadensis Mill. ต้านการอักเสบ/รักษาอาการแผลเป็น/เพิ่มความชุ่มชื้น มะดัน Garcinia Garcinia schomburgkiana Pierre. ต้านอะนุมูลอิสระ/ต้านการอักเสบ/ยับยั้งแบททีเรีย
พืชสมุนไพร ชื่อวิทยาศาสตร์ ส่วนที่ใช้ คุณสมบัติ ขมิ้นชัน Tumeric Curcuma longa Linn. เหง้า ต้านอนุมูลอิสระ/ต้านการอักเสบ/ต้านเชื้อแบคทีเรีย/บำรุงผิว ว่านสาวหลง Amomum cf. biflorum Jack. ใบ บำรุงผิว
ขอขอบคุณ นางสาวพัชรวรรณ สิทธิศาสตร์ นางสาวพัชรวรรณ สิทธิศาสตร์ รศ.ดร.บังอร ศรีพานิชกุลชัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปกศาสตราจารย์. ดร. อรัญญา มโนสร้อย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Assoc.Prof.Ubonthip Nimmannit