สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
Advertisements

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคนิค (Competency Development for Best Practices) กรมควบคุมโรค ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค บริษัท โกลบัล.
ประเภทบุคลากร นักวิชาการสาธารณสุข, นักทรัพยากรบุคคล, จพ.ธุรการ Production Line 1.จัดทำแผนบุคลากร 2.จัดประชุม/สัมมนา 3.ประเมินผลและจัดการความรู้ 4.ร่วมผลิตบุคลากรทางการแพทย์
การขับเคลื่อนงาน ด้านการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนนในปัจจุบัน 1 นำเสนอโดย นายจุมพฏ วรรณฉัตรสิริ ผู้อำนวยการกองบูรณาการความปลอดภัยทางถนน ข้อมูลประกอบการเสวนา.
การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management).
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ขั้นที่ 1 ออกแบบ โครงสร้างการ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2 ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รายบุคคล (Performance Management.
KM (Knowledge Management
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
การบรรยายพิเศษ สหกิจศึกษานานาชาติ International Cooperative Education โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย โครงการเตรียมความพร้อมสู่สหกิจศึกษานานาชาติ
โครงงานวิทยาศาสตร์ (ว 23202)
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่งสูงขึ้น
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
นโยบาย 7 ข้อหลัก ภ.3 7 นโยบายหลัก ภ.3 เพิ่มรายได้ ลดค่าใช้จ่าย
การจัดการองค์ความรู้
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
บรรยายวิชาการบริหารการคลังภาครัฐ หลักสูตรการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ ระดับชำนาญการรุ่นที่ 10 วันที่ 2 มิถุนายน 2558 โดย สุดา ดุลยประพันธ์
พลังวัชร์ แพ่งธีระสุขมัย คณะวิศวกรรมศาสตร์
หมวด ๒ กลยุทธ์.
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การวางแผนเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ Career Planning and Development
การดำเนินการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545
การจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) และตัวชีวัดระดับบุคคล
สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
Ramathibodi Education System
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
รายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประธานคณะทำงานเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
การเตรียมการเพื่อรองรับการตรวจประเมินผล ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย (ตัวชี้วัดศูนย์ดำรงธรรม) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นายรณกฤต อุดมสุขโกศล.
การจัดทำ KEY PERFORMANCE INDICATORS (KPIs) COMPETENCY
Hilda  Taba  (ทาบา).
ตัวชี้วัด 2.5 ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีผลงาน วิจัย/R2R/KM ที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างน้อย 1 เรื่อง ทันตแพทย์หญิงสุณี วงศ์คงคาเทพ ทันตสาธารณสุขทรงคุณวุฒิ(ด้านทันตสาธารณสุข)
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน บทเรียนเรื่อง “ความรู้และการสร้างองค์ความรู้” ภาคต้น ปีการศึกษา 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนวย พิรุณสาร.
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
วิเคราะห์ค่างาน เพื่อกำหนดตำแหน่ง
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
งานเงินสมทบ การตรวจสอบ และงานกฎหมาย
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)
PRE 103 Production Technology
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)
การเปลี่ยนจากระบบ ซี สู่ระบบ แท่ง
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วิชา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Management
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การจัดทำรายงาน ของผู้สอบบัญชีสหกรณ์ อาจารย์ ณัฐเสกข์ เทพหัสดิน
การเขียนย่อหน้า.
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
การสนับสนุนกิจกรรม Win back ลูกค้าคู่แข่ง บภ.1.1
GSC151 ชีวิตและสภาพแวดล้อมในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น การสร้างความสมบูรณ์ของระบบการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นตามแผนปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย ถนนอัษฎางค์ กรุงเทพมหานคร 10200 โทร./โทรสาร 0-2225-4752 www.local.moi.go.th

กรอบแนวทางการดำเนินการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น อกถ. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพฯ - บูรณาการข้อเสนอเพื่อเชื่อมโยงกับการเตรียมการด้านกฎหมาย ก.ถ. - เห็นชอบ แผนการ สร้างความสมบูรณ์ ฯ ก่อนการบังคับใช้ อกถ.ด้านมาตรฐานกลาง ทบทวนข้อเสนอที่ ๑ - ๗ หลังการบังคับใช้ แผนที่ ๑ การสร้างความสมบูรณ์ ของระบบการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (พ.ย. ๕๖ – พ.ค. ๕๗) ก.กลาง แก้ไขประกาศมาตรฐานทั่วไป ที่เกี่ยวข้อง แผนที่ ๔ การประเมินผลและเยียวยา ผู้ได้รับผลกระทบ อกถ. ด้านการพัฒนาฯ ทบทวนข้อเสนอที่ ๘ - ๑๐ ดำเนินการ เข้าสู่ ระบบใหม่ ก.ถ. เห็นชอบ กรอบแนวทาง และแผนปฏิบัติการเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น โดย อกถ. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพฯ อกถ.ด้านมาตรฐานกลางฯ - ปรับปรุงมาตรฐานกลางฯ ที่เกี่ยวข้อง แผนที่ ๒ การเตรียมการ ด้านกฎหมาย (พ.ค. – พ.ย. ๕๗) ก.ถ.เห็นชอบ และแก้ไข ประกาศมาตรฐานกลาง ๑ ม.ค. ๕๘ แผนที่ ๕ การพัฒนาระบบทรัพยากรบุคคล อกถ.ด้านกฎหมายฯ - ดำเนินการกระบวนการทางกฎหมายในการออกมาตรฐานกลาง ก.จังหวัด - แก้ไข หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ที่เกี่ยวข้อง แผนที่ ๓ การสื่อสารประชาสัมพันธ์ (มิ.ย. – ธ.ค. ๕๗) โดย อกถ. ด้านการ พัฒนาฯ ก.ถ. - เห็นชอบ แผนการสื่อสารประชาสัมพันธ์ อกถ. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพฯ พ.ย. ๕๖ – ธ.ค. ๕๗ ม.ค. ๕๘– ธ.ค. ๕๙

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 1. ข้อเสนอเกี่ยวกับระบบจำแนกตำแหน่ง ปรับเป็นโครงสร้างระดับชั้นงานแบบแท่ง (Broadband) เหมือนข้าราชการพลเรือน แต่ปรับปรุงหรือเพิ่มระดับเฉพาะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น โครงสร้างระดับชั้นงาน มี 4 แท่ง คือ ระดับเชี่ยวชาญ 631-900 ระดับอาวุโส 221-451 ระดับชำนาญการพิเศษ 452-630 ระดับสูง 725-1,035 ระดับสูง 1,427-3,400 ระดับชำนาญงาน 155-220 ระดับชำนาญการ 321-451 ระดับกลาง 520-724 ระดับกลาง 1,036-1,426 ระดับปฏิบัติงาน 105-154 ระดับปฏิบัติการ 221-320 ระดับต้น 371-519 ระดับต้น 520-1,035 ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ ท้องถิ่น บริหารจัดการท้องถิ่น

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ภาพแสดงระบบปัจจุบันเทียบกับระบบใหม่ ระดับเชี่ยวชาญ C 10 C 10 ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับสูง C 9 C 9 ระดับชำนาญการ C8 ระดับกลาง C8 C 7 C 7 ระดับปฏิบัติการ ระดับต้น C 6 C 6 ประเภทวิชาการ ประเภท บริหารจัดการท้องถิ่น C 5 C 5 C 4 C 4 C3 C3 ระดับสูง ระดับอาวุโส C 2 C 2 ระดับกลาง C 1 C 1 ระดับชำนาญงาน สายงาน เริ่มที่ ระดับ 1 สายงาน เริ่มที่ ระดับ 3-4 สายงาน เริ่มที่ ระดับ 6 สายงาน นักบริหาร อปท ระดับต้น ระดับปฏิบัติงาน ประเภท อำนวยการท้องถิ่น ประเภททั่วไป

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 2. ข้อเสนอเกี่ยวกับสายงาน ให้มีการยุบ/เพิ่มสายงานของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ดังนี้ มีการเปลี่ยนชื่อใหม่ เนื่องจากบางสายงานมีลักษณะการทำงานในเชิงวิชาการ มิใช่เป็นงานบริหารจัดการในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงเสนอให้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่ โดยกำหนดเป็นสายงานที่ขึ้นด้วย นักวิชาการ ... เสนอให้มีการยุบรวมสายงาน ที่มีลักษณะงานคล้ายกัน แตกต่างกันที่คุณวุฒิเท่านั้น ดังนี้ - สายงานที่ขึ้นด้วย เจ้าหน้าที่... (สายงานเริ่มต้นที่ระดับ 1) ควรรวบกับสายงานที่ขึ้นด้วยเจ้าพนักงาน ...(สายงานเริ่มต้นที่ระดับ 2) -สายงานที่ขึ้นด้วย ช่าง... (สายงานเริ่มต้นที่ระดับ 1) ควรรวบกับสายงานที่ขึ้นด้วยนายช่าง ... (สายงานเริ่มต้นที่ระดับ 2) สายงานอื่นๆ ที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกัน เช่น เจ้าหน้าที่พยาบาลกับพยาบาลเทคนิค เป็นต้น เสนอให้มีการเพิ่มสายงานใหม่เป็นสายงานเปิด เช่น นักวิชาการท้องถิ่น เพื่อให้เป็นสายงานทำงานที่หลากหลายในแต่ละพื้นที่ตามที่ได้รับมอบหมายอย่างเหมาะสม เสนอให้สายงานชื่อเดียวกันระหว่าง อบจ. เทศบาล และ อบต. โอนย้ายกันได้

กรอบแนวทางในการสรุปงานและจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กรอบแนวทางในการสรุปงานและจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ จากข้อเสนอดังกล่าว จึงทำให้มีการยุบ/เพิ่มสายงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้ มีการเปลี่ยนชื่อใหม่ โดยลดชื่องานวิชาการลงโดยเปลี่ยนจาก “นักวิชาการ” เป็น “นักจัดการงาน” เสนอให้มีการยุบรวมสายงาน ที่มีลักษณะงานคล้ายกัน แตกต่างกันที่คุณวุฒิเท่านั้น เสนอให้มีการเพิ่มสายงานใหม่เป็นสายงานเปิด เช่น นักจัดการงานส่วนท้องถิ่น เสนอให้สายงานชื่อเดียวกันระหว่าง อบจ. เทศบาล และ อบต. สามารถโอนย้ายกันได้ จากข้อเสนอทั้งหมดจึงได้ข้อสรุป คือ ให้มีการยุบรวมสายงานข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด 86 สายงาน สายงานพนักงานเทศบาล 116 สายงาน และสายงานพนักงานส่วนตำบล 70 สายงาน (ไม่รวมถึงสายงานครู และบุคลากรทางการศึกษาที่เป็นตำแหน่งในระบบวิทยฐานะ) รวมทั้งหมด 266 สายงาน คงเหลือ 90 สายงาน ดังนี้ (ที่มีระบายสี คือ สายงานที่มีการเปลี่ยนชื่อสายงาน) และเพิ่มอีก 3 สายงานใหม่คือ นักจัดการงานท้องถิ่น นักจัดการงานพาณิชย์ และนักจัดการงานต่างประเทศ จึงเป็นทั้งหมด 93 สายงาน

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 3. ข้อเสนอเกี่ยวกับมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง หน้าที่รับผิดชอบ (Key Accountabilities) เป็นการกำหนดว่าตำแหน่งงานนั้นๆ จะต้องบรรลุผลสัมฤทธิ์ในด้านใดบ้างจึงจะถือว่าบรรลุวัตถุประสงค์ของงานประจำตำแหน่งอันเป็นการสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน/องค์กรโดยครบถ้วน กรอบคุณวุฒิ (Knowledge and Experiences) เป็นการกำหนดว่าตำแหน่งงานนั้นต้องมีคุณสมบัติ เชิงวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในระดับใดที่จำเป็นและเพียงพอแก่การปฏิบัติงานประจำตำแหน่งให้สัมฤทธิ์ผล ไม่ต่ำหรือสูงเกินความจำเป็นของระดับงานในตำแหน่ง  กรอบความรู้ ทักษะ และสมรรถนะ (Skills and Competencies) เป็นการกำหนดว่าตำแหน่งงานต่างๆ ต้องการความรู้ทักษะ และสมรรถนะแบบใดที่จำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ให้ได้ผลงานที่ดี

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น รูปแบบมาตรฐานกำหนดตำแหน่งใหม่ ตำแหน่งประเภท วิชาการ ชื่อสานงาน จัดการงาน.................... ชื่อตำแหน่งในสายงาน นักจัดการงาน .............. ระดับตำแหน่ง ชำนาญการ 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ด้านปฏิบัติการ 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ก. 2. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ข. ด้านวางแผน 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ค. 2. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ง. ด้านการประสานงาน 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก จ. 2. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ฉ. ด้านการบริการ 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ช. 2. หน้าที่รับผิดชอบหลัก ซ. 2. คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 3. ความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง 1.ความรู้ความสามารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง 2.ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง 3.สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง ระบุหน้างานและรายละเอียดของหน้าที่รับผิดชอบหลักของชั้นงานในแต่ละสายงานอย่างชัดเจน ระบุวัตถุประสงค์แต่ละภาระหน้าที่อย่างชัดเจนโดยกำหนดผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์เป้าหมายของหน้าที่นั้นชัดเจน ระบุหน้างานและรายละเอียดของหน้าที่รับผิดชอบหลักของชั้นงานในแต่ละสายงานอย่างชัดเจน ระบุวัตถุประสงค์แต่ละภาระหน้าที่อย่างชัดเจนโดยกำหนดผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์เป้าหมายของหน้าที่นั้นชัดเจน

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 4. ข้อเสนอเกี่ยวกับระบบค่าตอบแทน   ขั้นสูง ขั้นต่ำ ขั้นต่ำชั่วคราว ประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับสูง 73,140 56,330 24,400 ประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง 60,450 46,560 19,860 ประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับต้น 44,990 34,680 16,190 ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ระดับสูง 70,350 50,640 ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง 43,300 ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น 32,270 ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ 36,410 ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ 30,100 ประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ 22,490 13,160 ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ 27,350 15,060 9,740 ประเภททั่วไป ระดับอาวุโส 28,030 17,560 ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน 33,310 15,920 12,530 ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน 22,760 10,770 8,260

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำหรับประเภทบริหารจัดการท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 5. ข้อเสนอเกี่ยวกับการจ่ายเงินเพิ่ม ประเภท / ระดับ อัตรา (บาท/เดือน) บริหารจัดการท้องถิ่น ระดับสูง 14,500 ระดับกลาง 10,000 ระดับต้น 5,600 อำนวยการท้องถิ่น   3,500 วิชาการ ระดับเชียวชาญ 9,900 ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับชำนาญการ* *สำหรับตำแหน่งงานในสายวิชาชีพเท่านั้น

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เงินเพิ่ม Locality Pay เงินเดือน ระดับค่าครองชีพและอัตราตลาด* ต่ำ กลาง สูง ความทุรกันดาร หรือเสี่ยงภัย x0.1 x0.25 x0.50 x0.75 x1

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำหรับประเภทบริหารจัดการท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 6. ข้อเสนอเกี่ยวกับกระบวนการขึ้นเงินเดือน ยังคงให้ใช้กระบวนการขึ้นเงินเดือนตามระบบขั้นแบบเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยจะต้องมีการจัดทำบัญชีอัตราเงินเดือนสำหรับใช้ในกระบวนการขึ้นเงินเดือนเป็นการเฉพาะ

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำหรับประเภทบริหารจัดการท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 7.ข้อเสนอเกี่ยวกับเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ เสนอให้มีการขยายระดับควบสำหรับตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน - ชำนาญงาน - อาวุโส ตำแหน่งวิชาการระดับปฏิบัติการ - ชำนาญการ - ชำนาญการพิเศษ ตำแหน่งประเภทอำนวยการท้องถิ่นระดับต้น-กลาง และตำแหน่งประเภทบริหารจัดการท้องถิ่น ระดับต้น – กลาง เสนอให้มีการย้ายงานเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างหน่วยงานภายใน อปท. หรือภายใน จังหวัด/ข้ามพื้นที่ เสนอให้มีการกำหนดสายงานประเภทวิชาการ โดยเพิ่มระดับผู้ทรงคุณวุฒิ เสนอให้มีการกำหนดกระบวนการและหลักเกณฑ์ในการเลื่อนตำแหน่งและเลื่อนระดับ และย้ายทั้งในประเภทและต่างประเภทงานใหม่

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น การขยายระดับควบ ระดับเชี่ยวชาญ 631-900 ระดับอาวุโส 221-451 ระดับชำนาญการพิเศษ 452-630 ระดับควบไม่ต้องมีการ กำหนดตำแหน่งใหม่ ระดับควบไม่ต้องมีการ กำหนดตำแหน่งใหม่ ระดับชำนาญงาน 155-220 ระดับชำนาญการ 321-451 ระดับปฏิบัติงาน 105-154 ระดับปฏิบัติการ 221-320 ทั่วไป วิชาการ

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น การโอนย้ายงาน ภายในหน่วยงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก ภายในหน่วยงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข งานที่ 1 งานบริการประชาชน งานที่ 1 งานบริการประชาชน ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการ ระดับปฏิบัติงาน ระดับปฏิบัติงาน ระดับปฏิบัติงาน ระดับปฏิบัติงาน

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กำหนดกระบวนการและหลักเกณฑ์ในการเลื่อนตำแหน่ง และเลื่อนระดับ และย้ายทั้งในประเภทและต่างประเภทงานใหม่ กรณีที่ 1 การเปลี่ยนกลุ่มประเภททั่วไป สู่ประเภทวิชาการเกณฑ์การย้ายกลุ่ม กรณีที่ 2 การเปลี่ยนกลุ่มประเภททั่วไป สู่ประเภทอำนวยการ ประเภททั่วไป ประเภทวิชาการ ประเภททั่วไป ประเภท อำนวยการ ระดับกลาง อาวุโส ระดับต้น ทั่วไป ทั่วไป

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น กรณีที่ 2 การเปลี่ยนกลุ่มระหว่างประเภทวิชาการและประเภทบริหารหรือบริหารจัดการ กรณีที่ 2 การเปลี่ยนกลุ่มระหว่างประเภทอำนวยการและประเภทบริหารหรือบริหารจัดการ กรณีที่ 2 การเปลี่ยนกลุ่มระหว่างประเภทวิชาการและประเภทอำนวยการ ประเภทวิชาการ ประเภท บริหาร ประเภทอำนวยการ ประเภท บริหาร ประเภทวิชาการ ประเภท อำนวยการ เชี่ยวชาญ ระดับสูง ระดับสูง ระดับสูง เชี่ยวชาญ ระดับสูง ชำนาญการพิเศษ ระดับกลาง ระดับกลาง ระดับกลาง ชำนาญการพิเศษ ระดับกลาง ชำนาญการ ระดับต้น ระดับต้น ระดับต้น ชำนาญการ ระดับต้น วิชาการ บริหาร อำนวยการ บริหาร วิชาการ อำนวยการ

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ภาพรวมของการวางแผน ทางเดินสายอาชีพ ย้ายกลุ่มต้องเคยเป็น หัวหน้างาน + ประสบการณ์+เกณฑ์อื่นๆ ย้ายกลุ่มได้ ต้องผ่านเกณฑ์ประสบการณ์ ระดับสูง ย้ายกลุ่มต้องเคย เป็นหัวหน้างาน+ เกณฑ์อื่นๆ 4 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ย้ายกลุ่มไปอำนวยการได้ต้องมี ป.ตรี + หัวหน้างาน +เกณฑ์อื่นๆ ระดับสูง ระดับกลาง 2 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ย้ายกลุ่มได้ต้องมี ป.ตรี + เกณฑ์อื่นๆ ระดับเชี่ยวชาญ 2 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ระดับกลาง ระดับต้น 4 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ระดับชำนาญการ พิเศษ 4 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ระดับต้น ประเภทบริหาร จัดการท้องถิ่น ระดับควบ 4 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ระดับชำนาญการ ประเภท อำนวยการ ท้องถิ่น ระดับอาวุโส ระดับควบ ระดับปฏิบัติการ 6 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ระดับ ชำนาญงาน 4 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติงาน 6 ปี + สมรรถนะ+ เกณฑ์อื่นๆ ประเภททั่วไป

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำหรับประเภทบริหารจัดการท้องถิ่น สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 8. ข้อเสนอเกี่ยวกับต้นแบบสมรรถนะ ต้นแบบสมรรถนะหลัก ต้นแบบสมรรถนะประจำผู้บริหารของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ต้นแบบสมรรถนะประจำสายงานของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ทักษะที่จำเป็นในงาน 9 ด้าน ความรู้ที่จำเป็นในงาน 21 ด้าน

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 9. ข้อเสนอเกี่ยวกับระบบบริหารผลงาน ระบบการบริหารผลงานแบบครบวงจร

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 9. ข้อเสนอเกี่ยวกับระบบบริหารผลงาน กำหนดโดยพิจารณาความสำเร็จ ของงานและตกลงกันระหว่าง ผู้ปฏิบัติและผู้บังคับบัญชา โดยอ้างอิงจากข้อกำหนดสมรรถนะ ซึ่งประกาศโดยองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น โดยอ้างอิงจากข้อกำหนด ของส่วนราชการ

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 9. ข้อเสนอเกี่ยวกับระบบบริหารผลงาน แบบประเมินผลงานระดับบุคคลของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ตำแหน่ง ระดับ ฝ่าย KPIs 1 2 3 4 5 ผลสำเร็จรวมของฝ่าย น้ำหนัก คะแนนที่ได้ ((ผลการประเมิน (น้ำหนักxคะแนนที่ได้) /100) ระบุเหตุผลที่ทำให้งานบรรลุ/ไม่บรรลุตามเป้าหมาย (ถ้ามี) น้ำหนักรวม รวม ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติการประจำปี น้ำหนัก เป้าหมาย ผลงานที่ทำได้ คะแนนที่ได้ ((ผลการประเมิน (น้ำหนักxคะแนนที่ได้) /5) ระบุเหตุผลที่ทำให้งาน บรรลุ/ไม่บรรลุตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รวม ตัวชี้วัดตามหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก น้ำหนัก เป้าหมาย ผลงานที่ทำได้ คะแนนที่ได้ ((ผลการประเมิน (น้ำหนักxคะแนนที่ได้) /5) ระบุเหตุผลที่ทำให้งาน บรรลุ/ไม่บรรลุตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รวม ตัวชี้วัดตามงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ น้ำหนัก เป้าหมาย ผลงานที่ทำได้ คะแนนที่ได้ ((ผลการประเมิน (น้ำหนักxคะแนนที่ได้) /5) ระบุเหตุผลที่ทำให้งาน บรรลุ/ไม่บรรลุตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 น้ำหนักรวม รวม

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 9. ข้อเสนอเกี่ยวกับระบบบริหารผลงาน กระบวนการในการประเมินสมรรถนะ

ตัวอย่างแบบฟอร์มประเมินสมรรถนะ สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ตัวอย่างแบบฟอร์มประเมินสมรรถนะ ชื่อผู้รับการประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) _______________________ ลงนาม _______________________ ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) ______________________ ลงนาม ____________________   สมรรถนะ ระดับที่คาดหวัง คะแนน (ก) คะแนน (ข) น้ำหนัก รวมคะแนน (กxข)/5 บันทึกโดยผู้ประเมิน (ถ้ามี) และในกรณีพื้นที่ไม่พอ ให้บันทึกลงในเอกสารหน้าหลัง 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 20% 20%  รวม 100% ให้ใส่ระดับเป้าหมายลงไป ให้ใส่ผลคะแนนที่ประเมินลงไป นำผลคะแนนคูณกันระหว่าง ก และ ข

สำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 10. ข้อเสนอเกี่ยวกับระบบการพัฒนาข้าราชการสวนท้องถิ่น ก.ถ เห็นชอบยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2557-2560 ในการเสริมสร้างธรรมาภิบาล