การบริหารพัสดุภาครัฐ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีตก ลงราคา นางสาวนาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ.
คู่มือการเปิดเผยข้อมูลราคากลาง ในระบบ e - GP สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
กองการพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การบริหารงานพัสดุ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ. ศ
มาตรการกระตุ้นการเร่งรัดการเบิกจ่าย
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
1 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กลุ่มเกษตรกร.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ประชุมชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ (ฉบับที่ 3 - 5) พ.ศ (ฉบับที่
สาระสำคัญพระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การแก้ไขสัญญาจ้างก่อสร้าง
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
1 The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
โจทย์ที่ได้รับ การดำเนินการจัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงตาม ว 462
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
หลักการและเหตุผล สร้างความเชื่อมั่นให้กับทุกภาคส่วน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การพัฒนาระบบ e-GP ในระยะที่ 3
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
นางนวลจันทร์ อุตมหาราช
พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สรุประเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ โดย นางสุคนธ์ทิพย์ ศรีจันทร์ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการพิเศษ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ.
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารพัสดุภาครัฐ นรารัตน์ คำหอม นักวิชาการตรวจสอบภายในชำนาญการ 081-8788557 ponic2512@Hotmail.com

ระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน งบประมาณ พัสดุ บัญชี การเงิน

กระบวนการบริหารงานพัสดุ การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ กำหนดความต้องการ งบประมาณ จัดทำแผน จัดหาพัสดุ เบิกจ่ายเงิน การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ

การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ แบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ แบบรูป รายการละเอียด แผนจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง รายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะพัสดุ เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง วิธีการจัดหา เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้มีอำนาจ (ดำเนินการ/สั่งซื้อสั่งจ้าง) เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน หน่วยงานการเงิน หน่วยงานทดสอบวัสดุ วัสดุ/ครุภัณฑ์/ที่ดินสิ่งก่อสร้าง การรับ-เบิกจ่าย การตรวจสอบพัสดุประจำปี การจำหน่ายพัสดุ

กฎหมายเกี่ยวกับการพัสดุ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2549 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหาร ส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ส่วนราชการ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หน่วยงานอื่นของรัฐ หน่วยการบริหารส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. เทศบาล พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

The Comptroller General’s Department กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง ประกาศราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เล่ม 134 ตอนที่ 24 ก

www.themegallery.com Company Logo

พรบ. จัดซื้อจัดจ้าง (15 หมวด 132 มาตรา) มาตรา 1–5 บทนิยาม มาตรา 6–15 หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 16-19 หมวด 2 การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและผู้ประกอบการในการป้องกันการทุจริต มาตรา 20-45 หมวด 3 คณะกรรมการ มาตรา 46-50 หมวด 4 องค์กรสนับสนุนดูแลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ มาตรา 51-53 หมวด 5 การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ มาตรา 54-68 หมวด 6 วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง มาตรา 69-78 หมวด 7 วิธีการจ้างที่ปรึกษา

พรบ. จัดซื้อจัดจ้าง (15 หมวด 132 มาตรา) มาตรา 79-92 หมวด 8 วิธีการจ้างออกแบบและควบคุมงาน มาตรา 93-99 หมวด 9 การทำสัญญา มาตรา 100-105 หมวด 10 การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ มาตรา 106-108 หมวด 11 การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ มาตรา 109-111 หมวด 12 การทิ้งงาน และการเพิกถอนการเป็นผู้ทิ้งงาน มาตรา 112-113 หมวด 13 การบริหารพัสดุ มาตรา 114-119 หมวด 14 การอุทธรณ์ มาตรา 120-121 หมวด 15 บทกำหนดโทษ มาตรา 122-132 บทเฉพาะกาล พรบ. จัดซื้อจัดจ้าง (15 หมวด 132 มาตรา)

การจัดซื้อจัดจ้าง ซื้อ จ้าง เช่า แลกเปลี่ยน นิติกรรมอื่น

งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงาน พัสดุ พัสดุ สินค้า งานก่อสร้าง งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงาน งานจ้าง ที่ปรึกษา งานบริการ

ราคากลาง ราคาที่ได้มาจากการคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด ราคามาตรฐาน สืบราคาจากท้องตลาด ราคาที่เคยซื้อหรือจ้าง ราคาอ้างอิง วิธีอื่นใด

เงินงบประมาณ กฎหมายว่าด้วยว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ/กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง เงินที่ได้รับอนุญาตให้ไม่ต้องนำส่งคลังตามกฎหมาย เงินกู้/เงินช่วยเหลือ เงินอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

หน่วยงานอื่น ที่กำหนดในกฎกระทรวง มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ หน่วยงานของรัฐ ราชการส่วนท้องถิ่น ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนกลาง รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หน่วยงานอิสระของรัฐ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่วยงานอื่น ที่กำหนดในกฎกระทรวง มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ

ขอบเขตการใช้บังคับ เพื่อให้การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุโดยใช้ เงินงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดความคุ้มค่า ให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามแนวทาง ของพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้

ยกเว้น 2 3 4 1 การดำเนินการ จัดซื้อจัดจ้าง ของรัฐวิสาหกิจ ที่เกี่ยวกับ การพาณิชย์โดยตรง การจัดซื้อจัดจ้าง ยุทโธปกรณ์ และการบริการ ทางทหาร โดยวิธีรัฐบาล ต่อรัฐบาล (GtoG) การวิจัยและพัฒนา หรือการจ้างที่ปรึกษา ที่ไม่สามารถ ดำเนินการ ตาม พรบ. นี้ การดำเนินการ โดยใช้เงินกู้ หรือเงินช่วยเหลือ ที่กำหนดไว้ เป็นอย่างอื่น

ยกเว้น การยกเว้นไม่ใช้บังคับกับการดำเนินการใดทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ให้ตราเป็น พระราชกฤษฎีกา ตามข้อเสนอของคณะกรรมการนโยบาย

ระเบียบ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐอื่น มีระเบียบเอง โดยต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ตาม พรบ. และต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบาย

หลักการจัดซื้อจัดจ้าง คุ้มค่า โปร่งใส ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรวจสอบได้

การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน หน่วยงานเจ้าของโครงการ ผู้เข้ายื่นข้อเสนอ ผู้สังเกตการณ์ จัดทำ บันทึก ข้อตกลง

คณะกรรมการ คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน 1 2 3 4 5

1. คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เสนอแนะนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างต่อคณะรัฐมนตรี เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพ การจัดซื้อจัดจ้างต่อคณะรัฐมนตรี กำกับดูแลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและจรรยาบรรณของเจ้าหน้าที่ จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ 1 2 3 4 5

2. คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ วินิจฉัยปัญหาข้อหารือ อนุมัติยกเว้น หรือผ่อนผัน การไม่ปฏิบัติตามระเบียบ เสนอความเห็นต่อปลัดกระทรวงการคลังในการพิจารณา สั่งให้ผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญาเป็นผู้ทิ้งงาน การอุทธรณ์คำสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน และการเพิกถอนรายชื่อผู้ทิ้งงาน 1 2 3

3. คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดราคากลาง กำกับดูแลการกำหนดราคากลางให้เป็นไปตามแนวทางของ พรบ. นี้ วินิจฉัยปัญหาข้อหารือ อนุมัติยกเว้น หรือผ่อนผันการไม่ ปฏิบัติตามรายละเอียดหลักเกณฑ์การกำหนดราคากลาง กำหนดหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียน และการเพิกถอนทะเบียนผู้ประกอบการ 1 2 3 4

4. คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต กำหนดแนวทาง และวิธีการในการดำเนินโครงการความร่วมมือป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กำหนดรูปแบบและเนื้อหาของข้อตกลงคุณธรรม คัดเลือกโครงการ และผู้สังเกตการณ์เพื่อเข้าร่วมโครงการ 1 2 3

5. คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน พิจารณาและวินิจฉัยอุทธรณ์และ ข้อร้องเรียน กรณีที่เห็นว่าหน่วยงานของรัฐมิได้ปฏิบัติให้เป็นไปตามแนวทางของพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง และระเบียบที่ออกตามความในพระราชบัญญัติ

2. จัดทำฐานข้อมูลราคาอ้างอิง ของพัสดุ และขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ หน่วยงานสนับสนุน 1. พัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ และเป็นศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ 2. จัดทำฐานข้อมูลราคาอ้างอิง ของพัสดุ และขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ 3. รวบรวม วิเคราะห์ และประเมินผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐและจัดทำรายงานเสนอต่อคณะกรรมการนโยบาย 4. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐตามหลักวิชาชีพ ให้กรมบัญชีกลางเป็นองค์กรสนับสนุนดูแลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ มีอำนาจหน้าที่ ดังนี้

การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ กรณีผู้ประกอบการก่อสร้าง ผู้ประกอบการก่อสร้างที่จะเข้าร่วมการจัดซื้อจัดจ้างกับหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นผู้ประกอบก่อสร้างที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมบัญชีกลาง กรณีผู้ประกอบการอื่น สำหรับงานอื่น หากมีการจัดให้มีการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการสำหรับพัสดุใดผู้ประกอบการนั้น ต้องมาขึ้นทะเบียนไว้กับกรมบัญชีกลาง เว้นแต่ เป็นงานที่กรมบัญชีกลางยังไม่ได้จัดให้มีการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ

กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง การจ้างที่ปรึกษา และการจ้างออกแบบหรือควบคุมงาน เกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ การทำสัญญา การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ 1 2 3 4 5

การจัดทำแผนจัดซื้อจัดจ้าง หลักการ ให้ประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง ยกเว้น กรณีจำเป็นเร่งด่วนหากล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการ ใช้ในราชการลับ วงเงินเล็กน้อย กรณีฉุกเฉินเนื่องจากภัยธรรมชาติ หรือเป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาด

วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะ เจาะจง เชิญชวนให้ผู้ประกอบการทั่วไป ที่มีคุณสมบัติตรง ตามเงื่อนไขที่กำหนดเข้ายื่นข้อเสนอ เชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนดซึ่งต้อง ไม่น้อยกว่า 3 ราย ให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ มีผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามกำหนดน้อยกว่า 3 ราย หน่วยงานภาครัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนดรายใดรายหนึ่งให้เข้ายื่นข้อเสนอหรือให้เข้ามาเจรจาต่อรองราคากับหน่วยงานของรัฐโดยตรง

วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ให้เลือกใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปก่อน เว้นแต่จะเข้าเงื่อนไขวิธีอื่น หลักการ หน่วยงานของรัฐในต่างประเทศจะใช้วิธีคัดเลือกหรือวิธีเฉพาะเจาะจง โดยไม่ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปก่อนก็ได้ ยกเว้น

วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง 1. ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปแล้ว ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอไม่ได้รับการคัดเลือก 2. พัสดุที่มีคุณลักษณะเฉพาะเป็นพิเศษหรือซับซ้อน หรือต้องผลิต ก่อสร้าง หรือให้บริการโดยผู้ประกอบการที่มีฝีมือโดยเฉพาะ หรือมีความชำนาญ เป็นพิเศษ หรือมีทักษะสูงและผู้ประกอบการมีจำนวนจำกัด 4. ลักษณะของการใช้งาน หรือมีข้อจำกัดทางเทคนิค ที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ เป็นการเฉพาะ วิธีคัดเลือก 3. มีความจำเป็นเร่งด่วน อันเนื่องมาจากเกิดเหตุการณ์ที่ ไม่อาจคาดหมายได้ 6. ใช้ในราชการลับ หรือเป็นงานที่ต้องปกปิดเป็นความลับของทางราชการ หรือเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ 7. งานจ้างซ่อมพัสดุที่จำเป็นถอดตรวจให้ทราบความชำรุดเสียหายเสียก่อน จึงจะประมาณค่าซ่อมได้ 5. ต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ หรือดำเนินการโดยผ่านองค์การระหว่างประเทศ 8. กรณีอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง

วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง 2. การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่การผลิต จำหน่าย หรือให้บริการทั่วไป และมีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างครั้งหนึ่งไม่เกินวงเงินตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 1. ใช้ทั้งวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปและวิธีคัดเลือก หรือใช้วิธีคัดเลือกแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอไม่ได้รับการคัดเลือก 4. มีความจำเป็นต้องใช้พัสดุโดยฉุกเฉินเนื่องจากอุบัติภัยหรือธรรมชาติพิบัติภัยและการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปหรือวิธีคัดเลือกอาจก่อให้เกิดความล่าช้าและอาจทำให้เกิดความเสียหายร้ายแรง 3. มีผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติโดยตรงเพียงรายเดียว หรือผู้ประกอบการซึ่งเป็นตัวแทนจำหน่ายหรือตัวแทนผู้ให้บริการโดยชอบด้วยกฎหมายเพียงรายเดียวในประเทศ และไม่มีพัสดุอื่นที่จะใช้ทดแทนได้ วิธีเฉพาะเจาะจง 5. เป็นพัสดุที่เกี่ยวพันกับพัสดุที่ได้จัดซื้อจัดจ้างไว้ก่อนแล้ว และมีความจำเป็นต้องจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติม โดยมูลค่าของพัสดุที่จัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมจะต้องไม่สูงกว่าพัสดุที่ได้จัดซื้อจัดจ้างไว้ก่อนแล้ว 7. ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เงื่อนไขการใช้วิธีเฉพาะเจาะจง (ก) ใช้ทั้งวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปและวิธีคัดเลือก หรือใช้วิธีคัดเลือกแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนั้นไม่ได้รับการคัดเลือก (ข) การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีการผลิต จำหน่าย หรือให้บริการทั่วไป และมีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างครั้งหนึ่งไม่เกินวงเงินตามที่กำหนดในกฎกระทรวง (ค) การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่มีผู้ประกอบการซึ่งมีคุณสมบัติโดยตรงเพียงรายเดียว หรือการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุจากผู้ประกอบการซึ่งเป็นตัวแทนจำหน่ายหรือตัวแทนผู้ให้บริการโดยชอบด้วยกฎหมายเพียงรายเดียวในประเทศไทยและไม่มีพัสดุอื่นที่จะใช้ทดแทนได้ (ง) มีความจำเป็นต้องใช้พัสดุนั้นโดยฉุกเฉินเนื่องจากอุบัติภัยหรือธรรมชาติพิบัติภัย และการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปหรือวิธีคัดเลือกอาจก่อให้เกิดความล่าช้าและอาจทำให้เกิดความเสียหายร้ายแรง (จ) พัสดุที่จะจัดซื้อจัดจ้างเป็นพัสดุที่เกี่ยวพันกับพัสดุที่ได้จัดซื้อจัดจ้างไว้ก่อนแล้ว และมีความจำเป็นต้องจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์หรือต่อเนื่องในการใช้พัสดุนั้น โดยมูลค่าของพัสดุที่จัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมจะต้องไม่สูงกว่าพัสดุที่ได้จัดซื้อจัดจ้างไว้ก่อนแล้ว (ฉ) เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยหน่วยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศ หรือหน่วยงานของต่างประเทศ (ช) เป็นพัสดุที่เป็นที่ดินและสิ่งก่อสร้างซึ่งจำเป็นต้องซื้อเฉพาะแห่ง 6. เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาด โดยหน่วยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศ หรือหน่วยงานของต่างประเทศ 8. กรณีอื่นที่กำหนดใน กฎกระทรวง

เกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอ ต้นทุนของ พัสดุนั้น ตลอดอายุ การใช้งาน มาตรฐาน ของสินค้า หรือบริการ วิธีการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า บริการ และงานก่อสร้าง ให้ใช้เกณฑ์ราคาประกอบเกณฑ์อื่นที่กำหนด โดยหน่วยงานของรัฐจะเลือกใช้เกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่งหรือหลายเกณฑ์ก็ได้ แล้วพิจารณาคัดเลือกผู้ที่ได้คะแนนรวมสูงสุด เช่น ผลการ ประเมิน ผู้ประกอบการ บริการ หลัง การขาย เป็นพัสดุที่รัฐ ต้องการส่งเสริม หรือสนับสนุน

วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป การจ้างที่ปรึกษา วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะ เจาะจง เชิญชวนให้ที่ปรึกษาทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดเข้ายื่นข้อเสนอ เชิญชวนเฉพาะที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่า 3 รายให้ยื่นข้อเสนอ เว้นแต่ มีที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติ ตรงตามที่กำหนดน้อยกว่า 3 ราย เชิญชวนเฉพาะที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนด รายใดรายหนึ่ง ให้เข้ายื่นข้อเสนอหรือให้เข้ามาเจรจาต่อรองราคาโดยตรง

วิธีการจ้างที่ปรึกษา วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะ เจาะจง สำหรับงานที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และมีที่ปรึกษาซึ่งสามารถทำงานได้เป็นการทั่วไป สำหรับกรณีที่ใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนั้นไม่ได้รับการคัดเลือก หรือเป็นงานที่มีเทคนิคเฉพาะ หรือมี ที่ปรึกษาในงานที่จะจ้างจำนวนจำกัด สำหรับกรณีใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปและวิธีคัดเลือก หรือใช้วิธีคัดเลือกแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอไม่ได้รับการคัดเลือก หรือการจ้างที่มีวงเงินค่าจ้างครั้งไม่เกินวงเงินตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง หรือเป็นงานที่จำเป็นต้องจ้างที่ปรึกษารายเดิมทำต่อจากงานที่ได้ทำไว้แล้วเนื่องจากเหตุผลทางเทคนิค หรือเป็นงานที่มีความจำเป็นเร่งด่วนหรือที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ หากล่าช้าจะเสียหายแก่ราชการหรือความมั่นคงของชาติ หรืองานอื่นทีกำหนดในกฎกระทรวง

เกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอวิธีการจ้างที่ปรึกษา ประเภทที่ปรึกษาที่รัฐต้องการ ส่งเสริมสนับสนุน ข้อเสนอทางการเงิน จำนวน บุคลากร หลักเกณฑ์ การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ วิธีการบริหารและปฏิบัติงาน ประสบการณ์

การพิจารณาข้อเสนอและการให้น้ำหนักวิธีการจ้างที่ปรึกษา 1 2 3 กรณีการจ้างที่ปรึกษาเพื่อดำเนินงานประจำหรืองานที่มีมาตรฐานเชิงคุณภาพ ตามหลักวิชาชีพอยู่แล้ว ให้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอ ที่ผ่านเกณฑ์ด้านคุณภาพซึ่งเสนอราคาต่ำสุด กรณีการจ้างที่ปรึกษาที่ ไม่ซับซ้อน หรือเป็นไป ตามมาตรฐานของหน่วยงานของรัฐ ให้คัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอ ที่ผ่านเกณฑ์ด้านคุณภาพและได้คะแนนรวมด้านคุณภาพและด้านราคา มากที่สุด กรณีการจ้างที่ปรึกษา ที่มีความซับซ้อน ให้คัดเลือก ผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้ คะแนนด้านคุณภาพมากที่สุด

วิธีการจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพาะ เจาะจง วิธี ประกวดแบบ

เกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอวิธีการจ้างออกแบบฯ เกณฑ์ด้านคุณภาพ พิจารณาจากแนวคิดของผู้ให้บริการ

การทำสัญญา การทำสัญญาตามแบบ การทำข้อตกลงเป็นหนังสือ การแก้ไขสัญญาหรือข้อตกลง

การบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ ผู้รับผิดชอบการบริหารสัญญาและการตรวจรับพัสดุ ผู้ควบคุมงาน การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการตามสัญญาหรือข้อตกลง การบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง

การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะ เข้ายื่นข้อเสนอหรือเข้าทำสัญญากับหน่วยงานภาครัฐ ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะ ถูกพักการเสนอราคาหรือทำสัญญากับหน่วยงานภาครัฐ ไว้ชั่วคราว จนกว่าจะมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

การทิ้งงาน เป็นผู้ที่ได้รับการคัดเลือกแล้วไม่ยอมไปทำสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ กับหน่วยงานของรัฐภายในเวลาที่กำหนด คู่สัญญาของหน่วยงานของรัฐหรือผู้รับจ้างช่วงที่หน่วยงานของรัฐอนุญาตให้รับช่วงงานได้ ไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ เมื่อปรากฏว่าผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญาของหน่วยงานของรัฐกระทำการอันมีลักษณะเป็นการขัดขวางการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม หรือกระทำการโดยไม่สุจริต เมื่อปรากฏว่าผลการปฏิบัติตามสัญญาของที่ปรึกษามีข้อบกพร่อง ผิดพลาด หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐอย่างร้ายแรง

การเพิกถอนการเป็นผู้ทิ้งงาน  มีฐานะการเงินมั่นคง  มีการชำระภาษีถูกต้องตามกฎหมาย  พ้นกำหนดระยะเวลาการแจ้งเวียนให้เป็น ผู้ทิ้งงาน

การบริหารพัสดุ การควบคุม และดูแล เก็บ เบิกจ่าย ยืม ตรวจสอบ บำรุงรักษา จำหน่าย

การร้องเรียนและอุทธรณ์ กรณีที่ผู้ร้องเรียนไม่เห็นด้วยกับ คำวินิจฉัยของหน่วยงานของรัฐ ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ การวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ให้ถือเป็นที่สุด ผู้ประกอบการสามารถร้องเรียนหน่วยงานของรัฐได้กรณีที่เห็นว่าหน่วยงานของรัฐมิได้ปฏิบัติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้

บทกำหนดโทษ ผู้ใดเป็นผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนในการกระทำความผิดดังกล่าว ผู้นั้นต้องระวางโทษตามที่กำหนดไว้สำหรับความผิดนั้น เจ้าหน้าที่หรือผู้มีอำนาจปฏิบัติหรือ ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1-10 ปี และปรับตั้งแต่ 4 หมื่น – 4 แสนบาท

บทเฉพาะกาล กรณีที่ยังไม่ออกกฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศ ให้นำระเบียบที่ใช้บังคับอยู่เดิมมาใช้บังคับต่อไปเท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีกฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศในเรื่องนั้นๆ ตาม พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กรณีไม่อาจนำระเบียบเดิมมาใช้บังคับในเรื่องใดได้ ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด

บทเฉพาะกาล กรณีคณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้เข้ารับหน้าที่แล้ว แต่ยังไม่มีกฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศ ให้หน้าที่ในการตีความและวินิจฉัยปัญหาตามระเบียบที่ใช้บังคับอยู่เดิมยังคงเป็นของคณะกรรมการตามระเบียบนั้นๆ เว้นแต่ หน้าที่ในการตีความและวินิจฉัยปัญหาว่าระเบียบดังกล่าว ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้หรือเป็นไปตามแนวทางของพระราชบัญญัตินี้หรือไม่ ให้เป็นหน้าที่ของคณะกรรมการวินิจฉัย

บทเฉพาะกาล การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างที่ยังไม่แล้วเสร็จ การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้ดำเนินการตามระเบียบ ที่ใช้บังคับอยู่เดิมก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และการตรวจรับและการจ่ายเงินยังไม่แล้วเสร็จ ให้ดำเนินการตามระเบียบเดิมต่อไป เว้นแต่ ยังไม่ได้ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง หรือในกรณีที่มีการยกเลิกการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง การดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้างนั้น หรือการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างครั้งใหม่ แล้วแต่กรณี ให้ดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้

การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3 สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-GP) ระยะที่ 3

วัตถุประสงค์ e-GP ระยะที่ 3 1 สร้างมาตรฐานสากลและ เป็นที่ยอมรับให้กับระบบ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดย พัฒนาการจัดซื้อจัดจ้าง ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ให้ ครบวงจร 2 เพิ่มความโปร่งใสของ การจัดซื้อจัดจ้าง และ ส่งเสริมให้เกิดการ แข่งขัน อย่างเป็นธรรม 3 เป็นแหล่งข้อมูลการ จัดซื้อจัดจ้างที่ให้ หน่วยงานกลาง หรือ หน่วยงานภาครัฐ นำข้อมูลไปอ้างอิงในการ กำหนดราคากลาง หรือ การของบประมาณ ต่อไปได้ 4 ลดขั้นตอนและเพิ่ม ประสิทธิภาพของการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ 1 เพื่อลดต้นทุนของ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการดำเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง

ภาพรวมของระบบ e-GP e-GP ระยะที่ 1 e-GP ระยะที่ 2 e-GP ระยะที่ 3 EPIC ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government Procurement System : e-GP) Information Disclosure Center Registration Management System Operation System หน่วยงานภาครัฐ EPIC e-Auction Contact Management Government Fiscal Management Information System (GFMIS) e-Contact/e-Signature ผู้ค้าภาครัฐ (Supplier) Management Information System ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษา Help Desk e-Market Grading ผู้สนใจทั่วไป หน่วยงานผู้ตรวจสอบ Bank Gateway e-Bidding DRC CA

วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง หลักการจัดซื้อจัดจ้างเดิม วงเงินงบประมาณกำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ไม่เกิน 100,000 บาท ตกลงราคา 100,000 – 2,000,000 บาท สอบราคา เกิน 2,000,0000 บาท e-Auction

สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ทุกขั้นตอนเป็นอิเล็กทรอนิกส์ หลักการจัดซื้อจัดจ้างใหม่ สินค้ากำหนดวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง สินค้าไม่ซับซ้อน สินค้าซับซ้อน E-Market E-Bidding ทุกขั้นตอนเป็นอิเล็กทรอนิกส์

หลักการ : การตรวจผู้มีอาชีพ เดิม ใหม่ ส่วนราชการตรวจ ผู้มีอาชีพกับผู้ค้า ทุกคนที่ยื่นข้อเสนอ ส่วนราชการ ตรวจผู้มีอาชีพเฉพาะผู้ค้าที่เป็น ผู้ชนะ การเสนอราคา

หลักการ : การใช้ดุลยพินิจ เดิม ใหม่ ส่วนราชการใช้ ดุลยพินิจในการเลือกผู้ชนะ ระบบเลือกผู้ชนะโดยคัดเลือกจาก ผู้เสนอข้อเสนอ ที่ดีที่สุด

หลักการ : สินค้า การซื้อจำเป็นต้องอ้างอิงรหัสสินค้าและบริการภาครัฐทุกครั้ง รหัสสินค้าและบริการภาครัฐสามารถนำไปสู่การเปรียบเทียบราคาได้ รหัสสินค้าและบริการภาครัฐนำไปเชื่อมโยงข้อมูลราคากลางของ หน่วยงานอื่น เช่น สำนักงบประมาณ และกระทรวง ICT

หลักการ : การเปิดเผยและเผยแพร่ ต้องมีการเผยแพร่ข้อมูลดังต่อไปนี้ แผนการจัดซื้อจัดจ้าง เอกสารประกาศจัดซื้อจัดจ้าง/ราคากลาง ผลการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญา

e-Market ผู้ค้า ส่วนราชการ e-Catalog Market ประกาศ ใบเสนอราคา สินค้า ข้อมูลสินค้า - รหัสสินค้า (UNSPSC) - คุณสมบัติ ประกาศ ผู้ค้า ตอบกลับ ประกาศ สินค้า - คุณสมบัติสินค้า - จำนวน ผู้ค้า - คุณสมบัติ ฯลฯ ใบเสนอราคา - สินค้า - ราคา ฯลฯ ส่วนราชการ RFQ,RFA ผู้ชนะการเสนอราคา

e-Bidding ส่วนราชการ ผู้ค้า ประชาชนทั่วไป จัดทำ ร่างประกาศ ประกวดราคาฯ เสนอราคา ส่วนราชการ เผยแพร่/วิจารณ์ ประกาศ จัดทำ ร่างประกาศ ประกวดราคาฯ ประกาศ ประกวดราคาฯ พิจารณาผล ประกาศผู้ชนะ

ระบบอื่นๆ ระบบลงทะเบียน ระบบบริหารจัดการรหัส UNSPSC e-Catalog Grading ระบบรับราคา

Grading : ประเมินเพื่อลงโทษผู้ค้า การดำเนินการในกระบวนการจัดหา การบันทึกข้อมูลใน e-Catalog การบันทึกข้อเสนอ ฯลฯ การดำเนินการตามสัญญา ส่งมอบงาน/ตรวจรับงาน บทลงโทษ ลงโทษเป็นผู้ทิ้งงาน พักการเข้าร่วมการจัดซื้อจัดจ้าง

Grading : ประเมินเพื่อส่งเสริมสินค้าและผู้ค้าที่มีคุณภาพ เครื่องมือ ข้อมูลในระบบ e-GP แบบสอบถาม

การรับราคา - ราคา - Price Performance

Price Performance : ตัวอย่าง บริษัท ก. เสนอราคาต่ำสุด ด้วยวงเงิน 100,000 บาท ตัวชี้วัด น้ำหนัก คะแนน รวม ราคา 60 100 เทคนิค 30 18 Grading 10 6 84 บริษัท ข. เสนอราคาต่ำสุด ด้วยวงเงิน 110,000 บาท ตัวชี้วัด น้ำหนัก คะแนน รวม ราคา 60 90 54 เทคนิค 30 27 Grading 10 80 8 89

ภาพรวมของระบบ e-GP

การเชื่อมโยงกับระบบอื่น 3 ระบบ GFMIS 2 e-GP System 1 หลักประกันซอง หลักประกันสัญญา การซื้อเอกสาร Bank

การเชื่อมโยงกับระบบ GFMIS ข้อมูลงบประมาณ ข้อมูลหลักผู้ขาย การจัดทำใบ PO การ ตรวจรับ เป็นการเชื่อมโยงข้อมูลเพื่อสร้างข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ GFMIS โดยดึงข้อมูลจากระบบ e-GP และการตรวจสอบข้อมูลหลักผู้ขายและเลขที่บัญชีผู้ค้าจากระบบ GFMIS ในขั้นตอนการจัดทำร่างสัญญาในระบบ e-GP ระบบ GFMIS จะส่งข้อมูล พรบ. งบประมาณให้ระบบ e-GP ทุกต้นปีงบประมาณ ทั้งในส่วนของข้อมูลรหัสงบประมาณ และรหัสแหล่งของเงิน การจัดทำ PO ประเภททั่วไป (บส. 01) และการจัดทำ PO ประเภทไม่แน่นอน (บส. 04) โดยดึงข้อมูลสัญญาจากระบบ e-GP มาบันทึกในระบบ GFMIS ผ่านเลขที่โครงการและเลขคุมสัญญาจากระบบ e-GP คือการตรวจรับในระบบ e-GP เมื่อมีการส่งมอบงานและตรวจรับแล้ว จากนั้นเมื่อมีการตรวจรับและสั่งจ่ายในระบบ GFMIS แล้ว ก็จะส่งข้อมูลมายังระบบ e –GP ได้โดยอัตโนมัติ เพื่อนำข้อมูลไปแสดงในระบบ ตรวจรับและเบิกจ่ายต่อไป

การเชื่อมโยงกับธนาคาร หนังสือค้ำประกันต่าง ๆ เช่น หนังสือค้ำประกันซอง หนังสือค้ำ ประกันสัญญา เป็นต้น การซื้อเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ Web service

ร่างสัญญาและการบริหารสัญญา การดำเนินงานตามสัญญา การส่งมอบงาน การตรวจรับงาน การเบิกจ่ายเงิน การแก้ไขสัญญา การยกเลิกสัญญา การแจ้งส่งมอบงาน การแจ้งค่าปรับ

Grading : ประเมินเพื่อส่งเสริมสินค้าและผู้ค้าที่มีคุณภาพ ประเมินคุณภาพสินค้า ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ประเมินคุณภาพของผู้ค้า คุณภาพในการดำเนินงานตามสัญญา บริการหลังการขาย การนำผลการประเมินไปใช้ เป็นปัจจัยหนึ่งในการพิจารณาผู้ชนะ นำข้อมูลไปแสดงระบบ e-Catalog

Thank You !