หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนของเรา ชุมชนอบอุ่น MANAGEMENT BY P.PROPERTY MANAGEMENT.CO,LTD
Advertisements

เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
ความเค้นและความเครียด
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
DC Voltmeter.
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
เพื่อพัฒนาพลังงานรองรับวิกฤตการณ์พลังงานของประเทศ
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
เรื่อง อันตรายของเสียง
แผ่นดินไหว.
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
Nikola Tesla . . อัจฉริยะโลกลืม
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
ความดัน (Pressure).
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า ประเภทของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้าแบบอนาล็อก (Analog Instrument) เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล (Digital Instrument) 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า สัญลักษณ์บอกชนิดของมิเตอร์ หมายถึง เครื่องวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่(Moving Coil) หมายถึง เครื่องวัดชนิดแผ่นเหล็กเคลื่อนที่(Moving Iron) สัญลักษณ์บอกโครงสร้างการทำงาน หมายถึง ปุ่มปรับศูนย์(Zero Adjust) หมายถึง แรงดันทดสอบ(Test Voltage) ตัวเลขที่อยู่ภายใต้ดาวแสดงถึงขนาดของแรงเคลื่อนทดสอบ มีหน่วยวัดเป็น KV (ภายใต้ดาวที่ไม่มีตัวเลขหมายถึงแรงเคลื่อนทดสอบ 500 V 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า สัญลักษณ์บอกลักษณะการใช้งาน หมายถึง ขณะใช้งานให้วางเครื่องวัดในแนวนอน หมายถึง ขณะใช้งานให้วางเครื่องวัดในแนวตั้งฉาก หมายถึง ใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ หมายถึง ใช้ได้เฉพาะไฟฟ้ากระแสสลับ หมายถึง ใช้ได้เฉพาะไฟฟ้ากระแสตรง 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า สัญลักษณ์บอกค่าคลาดเคลื่อน Class 1.5 หมายถึง มีความคลาดเคลื่อนของการวัด 1.5 % ของค่าเต็มสเกล (Full Scale) ตัวอย่าง มิเตอร์ตัวหนึ่งมี Class1.5 หมายถึง มิเตอร์จะมีค่าผิดพลาดในการวัดไป 5 เปอร์เซ็นต์ ของค่าเต็มสเกล สมมุติค่าเต็มสเกล มีค่าเท่ากับ 200 V มิเตอร์จะมีค่าผิดพลาดในการวัด เท่ากับ 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า ส่วนประกอบของเครื่องวัด 9 4 10 3 2 5 6 7 1 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า หลักการทำงาน 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า แรงบิดที่เกิดขึ้นในเครื่องวัด 1. แรงบิดบ่ายเบน(Deflecting Torque: TD ) 2. แรงบิดควบคุม(Controlling Torque: TC ) 3. แรงบิดหน่วง(Damping Torque: Td ) 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า แรงบิดบ่ายเบน( Deflecting Torque; TD ) แรงบิดบ่ายเบน หมายถึง แรงบิดที่ทำให้ระบบเคลื่อนที่หรือส่วนเคลื่อนที่ เคลื่อนที่ไปจากตำแหน่งเดิมหรือจากตำแหน่งศูนย์(Zero Position) 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า แรงบิดบ่ายเบน( Deflecting Torque; TD ) แรงบิดที่เกิดแต่ละด้านของตัวนำแต่ละเส้น ถ้าตัวนำมีจำนวนรอบ N รอบ จะได้ แรงบิดที่เกิดขึ้นบนตัวนำด้านเดียว จะได้ 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า แรงบิดบ่ายเบน( Deflecting Torque; TD ) แรงบิดที่เกิดขึ้นบนตัวนำ 2 ด้าน จะได้ แต่ NBA จะมีค่าคงที่ เพราะฉะนั้น 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า แรงบิดควบคุม( Controlling Torque;Tc ) แรงบิดควบคุม หมายถึง แรงบิดที่เกิดขึ้นจากสปริงเส้นผม ซึ่งจะมีทิศทางต้านกับแรงบิดบ่ายเบน และจะมีกำลังมากขึ้นตามการบ่ายเบนของระบบเคลื่อนที่และเข็มชี้จะหยุดนิ่ง เมื่อแรงบิดบ่ายเบนเท่ากับแรงบิดควบคุม 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า แรงบิดหน่วง( Damping Torque; Td ) แรงบิดหน่วง หมายถึง แรงบิดที่มีทิศทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของส่วนเคลื่อนที่ มีหน้าที่ทำให้ระบบเคลื่อนที่ที่เคลื่อนที่ไปแล้วหยุดนิ่งอยู่กับที่อย่างรวดเร็ว โดยไม่แกว่งไปมา แรงบิดหน่วง เกิดจาก 3 สิ่งต่อไปนี้ คือ 1. ของเหลว 2. อากาศ 3. กระแสไหลวน 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า ขนาดของแรงบิดหน่วง จะมี 3 ขนาด คือ 1. คริติคอลแดมพ์ จะมีขนาดที่พอเหมาะ 2. โอเวอร์แดมพ์ จะมีขนาดที่มากเกินไป 3. อันเดอร์แดมพ์ จะมีขนาดน้อยเกินไป 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า การนำไปใช้งาน จะใช้ได้เฉพาะกับไฟฟ้ากระแสตรงเท่านั้น ข้อดีของเครื่องวัด ข้อเสียของเครื่องวัด 1. สเกลเป็นแบบเชิงเส้น 1. โครงสร้างบอบบาง 2. ความไวในการวัดสูง 2. สปริงเกิดอาการล้าตัวได้ 3. ต้องการใช้กำลังไฟฟ้าน้อย 3. แม่เหล็กเสื่อมคุณภาพ 4. การ Damping ดีที่สุด 5. สามารถขยายย่านวัดได้ 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดชนิดแผ่นเหล็กเคลื่อนที่(Moving Iron) แบบอาศัยอำนาจแม่เหล็กดึงดูด 1 3 2 5 4 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดชนิดแผ่นเหล็กเคลื่อนที่(Moving Iron) หลักการทำงาน เมื่อกระแสไหลผ่านเข้าไปในขดลวดที่อยู่กับที่ จะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้น โดยมีความเข้มของสนามแม่เหล็กมากที่สุดที่ศูนย์กลางของขดลวด แผ่นเหล็กอ่อนจะถูกดึงดูดเข้าสู่ศูนย์กลางของขดลวด แรงดึงดูดจะแปรไปตามปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวด 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า โครงสร้างของเครื่องวัดชนิดแผ่นเหล็กเคลื่อนที่(Moving Iron) แบบอาศัยอำนาจแม่เหล็กผลักดัน 1 2 3 4 5 6 7 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า หลักการทำงาน เมื่อมีกระแสไหลผ่านเข้าไปในขดลวดเคลื่อนที่จะทำให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นและจะเหนี่ยวนำให้แผ่นเหล็กอ่อนทั้งสองที่วางขนานกันมีอำนาจแม่เหล็กเหมือนกัน จึงทำให้เกิดแรงผลักซึ่งกันและกัน ทำให้แผ่นเหล็กอ่อนที่เคลื่อนที่ได้ เคลื่อนที่ไป S N I 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า การนำไปใช้งาน จะใช้ได้กับไฟฟ้ากระแสตรงเละกระแสสลับ ข้อดีของเครื่องวัด ข้อเสียของเครื่องวัด 1. วัดได้ทั้งไฟตรงและไฟสลับ 1. ความไวต่ำ 2. ทนต่อการสั่นสะเทือน 2. สเกลเป็นแบบ non linear 3. ราคาถูก 3. มีผลของฮีสเตอรีซีสในแท่งเหล็ก 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดชนิดอิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า การทำงาน 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า การนำไปใช้งาน 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดชนิดเส้นลวดร้อน 1. ลวดทองคำขาว(AB) 1 2 3 4 5 6 8 9 2. ลวดทองแดงผสมดีบุก(CD) 3. เชือกไหม 4. พู่เล่(Pulley) 5. สปริง(Spring) 6. เข็มชี้(Pointer) 7. สเกล(Scale) 8. แม่เหล็กถาวร(Permanent Magnet) 9. จานอลูมิเนี่ยม 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า ข้อดีและข้อเสียของเครื่องวัด ข้อดีของเครื่องวัด 1. วัดได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ 2. ค่าที่อ่านได้ไม่ขึ้นอยู่กับรูปคลื่นและความถี่ 3. สนามแม่เหล็กจากภายนอกไม่มีผลต่อการทำงานของเครื่องวัด ข้อเสียของเครื่องวัด 1. การเคลื่อนที่ของเข็มชี้จะเคลื่อนที่ช้า 2. มีกำลังไฟฟ้าสูญเสียภายในสูง 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า ข้อดีและข้อเสียของเครื่องวัด ข้อเสียของเครื่องวัด 3. ก่อนการใช้ จะต้องปรับเข็มชี้ให้ชี้ที่ศูนย์ทุกครั้ง 4. มีสเกลแบบไม่สม่ำเสมอ 5. ไม่สามารถทนต่อกระแสไฟฟ้าที่ไหลเกินจำนวนมากด้วย 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดชนิดแผ่นโลหะคู่ การทำงานของแผ่นโลหะคู่ 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า โครงสร้างและส่วนประกอบ 1. Bimetallic Spiral Strip 2. สปริงก้นหอย 3. แผ่นกั้นความร้อน 4. เข็มชี้ 5. สเกล 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า การนำไปใช้งาน 1. วัดได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ ทุกรูปลักษณะคลื่น ทุกความถี่ 2. สนามแม่เหล็กภายนอกไม่มีผลต่อการทำงาน 3. ใช้กำลังไฟฟ้าสูง 4. มีความเที่ยงตรงในการวัดต่ำ 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดชนิดเทอร์โมคัปเปิล การเกิดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงในเทอร์โมคัปเปิล 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า โครงสร้างและส่วนประกอบ 1. ขดลวดความร้อน(Heater) 2. เทอร์โมคัปเปิล(Termocouple) 3. เครื่องวัดชนิดขดลวดเคลื่อนที่ 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า ข้อดีของเครื่องวัด 1. ใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ 2. วัดได้ทุกรูปคลื่นและความถี่ ข้อดีของเครื่องวัด 1. สเกลเป็นแบบไม่เป็นเชิงเส้น 2. ขดลวดความร้อนขาดง่าย เมื่อกระแสไหลเกิน 3. โครงสร้างบอบบาง 4. ราคาแพง 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า สรุปสาระการเรียนรู้ ประภทของเครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้าแบบอนาล็อก เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอล 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า บอกชนิดของเครื่องวัด บอกค่าคลาดเคลื่อน สัญลักษณ์ของเครื่องวัด บอกโครงสร้าง การทำงาน บอกลักษณะการใช้งาน 20/09/61

หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า Moving Iron Instrument Moving Coil Instrument Bimetallic Instrument Hotwire Instrument Type of Instrument Electrodynamometer Thermocouple Instrument 20/09/61