หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
Engineering mechanic (static)
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
CD แผ่น ชื่อ File Program
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
การออกแบบและเทคโนโลยี
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
พื้นที่ผิวของพีระมิด
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ความเค้นและความเครียด
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
DC Voltmeter.
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
แรงและการเคลื่อนที่.
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
แผ่นดินไหว.
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2. วงกลม กรวยเป็นรูปทรงเรขาคณิต
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ความดัน (Pressure).
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
Chapter 3 : Array.
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์ หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์

ประเภทของปริมาณทางฟิสิกส์ 1. ปริมาณพื้นฐาน (basic quantity) 2. ปริมาณอนุพันธ์ (derived quantity) ปริมาณพื้นฐาน : เป็นปริมาณที่ได้จากการวัดโดยตรง เช่น มวลและความยาว ปริมาณอนุพันธ์ : เป็นปริมาณที่ได้จากการนำปริมาณพื้นฐานมาผสมผสานกัน เช่น แรงและงาน

ปริมาณพื้นฐาน 7 ชนิด

ปริมาณอนุพันธ์

คำอุปสรรค (prefixes) ใช้นำหน้าหน่วยเพื่อความสะดวกในการบอกขนาดของหน่วยที่มีขนาดใหญ่หรือเล็กมากๆ

ชนิดของปริมาณทางฟิสิกส์ 1. ปริมาณสเกลาร์ (scalar quantity) 2. ปริมาณเวกเตอร์ (vecter quantity) ปริมาณสเกลาร์ : บอกขนาดอย่างเดียว ก็มีความหมายสมบูรณ์ เช่น ระยะทางและอัตราเร็ว ปริมาณเวกเตอร์ : ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะมีความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัดและความเร็ว *** การรวมปริมาณสเกลาร์สามารถรวมกันทางพีชคณิต เพื่อหาขนาดอย่าง เดียวแต่การรวมปริมาณเวกเตอร์ต้องพิจารณาทิศทางด้วย

2.1 สเกลลาร์และเวกเตอร์ (ต่อ) เวกเตอร์คือปริมาณที่มีขนาดและพร้อมทั้งการบ่งบอกทิศทาง สัญญาลักษณ์ของปริมาณเวกเตอร์ a ขนาดของเวกเตอร์ a = | a | เวกเตอร์ขนาดหนึ่งหน่วยในทิศของ a คือ ea = a / a ปริมาณทางฟิสิกส์ที่เป็นเวกเตอร์ได้แก่ การขจัด ความเร็ว ความเร่ง แรงชนิดต่างๆ

2.1 สเกลลาร์และเวกเตอร์ (ต่อ) การกลับทิศเวกตอร์ คูณเวกเตอร์ด้วย -1 a - a การย่อขนาดเวกเตอร์ คูณเวกเตอร์ด้วยจำนวนที่น้อยกว่า 1 เช่น 0.5 a การขยายขนาดเวกเตอร์ คูณเวกเตอร์ด้วยจำนวนที่มากกว่า 1 เช่น 1.5 a

2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิงตั้งฉาก 2 มิติ โดยที่ i และ j คือเวกเตอร์ขนาดหนึ่งหน่วยในแนวแกน x และ y ตามลำดับ | i | = | j | =1 y x i j

2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ (ต่อ) เวกเตอร์ a ใดๆใน 2 มิติเขียนได้ดังนี้ a = ax i + ay j โดยที่ ขนาดของเวกเตอร์ a ที่ฉายลงบนแกน x ≡ ax = a cos Ө ขนาดของเวกเตอร์ a ที่ฉายลงบนแกน y ≡ ay = a sin Ө y x ax ay ө a

2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ (ต่อ) สังเกตว่า ax2 + ay2 = a2 tan Ө = ay / ax

2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ (ต่อ) เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิงตั้งฉาก 3 มิติ โดยที่ i, j และ k คือเวกเตอร์ขนาดหนึ่งหน่วยในแนวแกน x,y และ z ตามลำดับ | i | = | j | = | k | =1 z y j k i x

2.2 เวกเตอร์ในระบบแกนอ้างอิง 2 และ 3 มิติ (ต่อ) เวกเตอร์ a ใดๆใน 3 มิติเขียนได้ดังนี้ a = ax i + ay j + az k โดยที่ ax = a sin Ө cos φ ay = a sin Ө sin φ az = a cos Ө z y ay az ax x ө φ a

2.3 การรวมเวกเตอร์ การรวมเวกเตอร์ ทำได้ 2 วิธีคือ 1. โดยวิธีเขียนรูปภาพ 2. โดยวิธีการรวมตามส่วนประกอบ

2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) 1.โดยวิธีเขียนรูปภาพ นำหางเวกเตอร์ตัวหนึ่งไปต่อกับหัวเวกเตอร์อีกตัวหนึ่ง เวกเตอร์ลัพธ์ คือ เส้นตรงที่ลากจากหางของเวกเตอร์ตัวแรก ไปยังหัวของ เวกเตอร์ตัวสุดท้าย

2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) สมมุติว่า a และ b เป็นเวกเตอร์ใดๆ การรวมกันทำได้ดังรูปข้างล่างนี้ จากรูปจะเห็นว่า a + b = b + a หมายความว่า เราสามารถสลับลำดับของการรวมเวกเตอร์ได้ a b a + b

2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) สมมุติว่า d, e และ f เป็นเวกเตอร์ใดๆ การรวมกันทำได้ดังรูปข้างล่างนี้ จากรูปจะเห็นว่า d + (e + f) = (d + e) + f หมายความว่า เราสามารถสลับกลุ่มของการรวมเวกเตอร์ได้ d e f d + e e + f d + e + f

2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) ประโยชน์ของการรวมเวกเตอร์โดยรูป 1.ในกลศาสตร์ การรวมแรงโดยรูปทำให้เห็นภาพของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ 2.ถ้านำเวกเตอร์แรงทั้งหลายต่อกันแล้วไม่ได้เป็นรูปหลายเหลี่ยมปิด แสดงว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะไม่อยู่ในสมดุลของแรงและมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร่งตามทิศของแรงลัพธ์ 3.แต่ถ้านำเวกเตอร์แรงทั้งหลายต่อกันแล้วได้เป็นรูปหลายเหลี่ยมปิด แสดงว่าแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์ วัตถุจะอยู่ในสมดุลของแรงและจะอยู่กับที่หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่

2.3 การรวมเวกเตอร์ (ต่อ) 2. โดยวิธีการรวมตามส่วนประกอบ เช่น a = ax i + ay j + az k b = bx i + by j + bz k จะได้ว่า a + b = (ax + bx) i + (ay + by) j + (az + bz) k

2.4 การคูณเวกเตอร์ การคูณเวกเตอร์ตัวหนึ่งเข้ากับเวกเตอร์อีกตัวหนึ่งมี 2 แบบคือ 1. ผลคูณสเกลาร์ (Scalar product) 2. ผลคูณเวกเตอร์ (Vector product)

2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) 1. ผลคูณสเกลาร์ (Scalar product) ผลคูณสเกลาร์คือการคูณเวกเตอร์สองตัวแล้วได้ผลลัพธ์เป็นปริมาณ สเกลาร์ ซึ่งมีนิยามในการคูณดังนี้ a  b = ab cos Ө โดยที่เวกเตอร์ a และ b มีขนาดเท่ากับ a และ b ตามลำดับ และ Ө เป็นมุมระหว่างเวกเตอร์ทั้งสอง สังเกตว่า a  b = b  a

2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) จากนิยามผลคูณสเกลาร์ a  b = ab cos Ө จะเห็นว่า ถ้า i, j และ k เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในแนวแกน x, y และ z แล้ว i  i = 12 cos 0° = 1 ในทำนองเดียวกัน j  j = k  k = 1 แต่ว่า i  j = i  k = j  k = 0 เนื่องจากว่า cos 90° = 0

2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ในกรณีที่เวกเตอร์ a และ b เขียนในเทอมของส่วนประกอบดังนี้ a = ax i + ay j + az k b = bx i + by j + bz k จะได้ว่า a  b = ax bx + ay by + az bz ดังนั้นขนาดของเวกเตอร์ a ใดๆ a  a = a2 = ax2 + ay2 + az2 a = (ax2 + ay2 + az2)1/2 เวกเตอร์ขนาดหนึ่งหน่วยในทิศของ a คือ ea = a / a

2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ความหมายของผลคูณสเกลาร์เป็นไปได้ 2 ทาง a  b = a (b cos Ө) = b (a cos Ө) a b Ө b cos Ө a b Ө a cos Ө

2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ผลคูณเวกเตอร์ (Vector product) ผลคูณเวกเตอร์คือการคูณเวกเตอร์สองตัวแล้วได้ผลลัพธ์เป็นปริมาณเวกเตอร์ตัวใหม่ซึ่งตั้งฉากกับระนาบของเวกเตอร์ทั้งสองดังรูปข้างล่างนี้ a b c = a  b Ө c′ = b  a

2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ผลคูณเวกเตอร์มีสัญญลักษณ์ในการคูณเป็นดังนี้ c = a  b โดยที่ขนาดของเวกเตอร์ c คำนวณได้ตามนิยามนี้ c = |a  b| = ab sin Ө สังเกตว่า b  a = - a  b

2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) i k j ตามรูปและนิยามของขนาดข้างต้น ถ้า i, j และ k เป็นเวกเตอร์หนึ่งหน่วยในแนวแกน x, y และ z แล้วจะได้ว่า i  j = k = - j  i j  k = i = - k  j k  i = j = - i  k เนื่องจากว่า sin 90° = 1 สังเกตว่า i  i = j  j = k  k = 0 เนื่องจากว่า sin 0° = 0 i k j

2.4 การคูณเวกเตอร์ (ต่อ) ในกรณีที่เวกเตอร์ a และ b เขียนในเทอมของส่วนประกอบดังนี้ a = ax i + ay j + az k b = bx i + by j + bz k จะได้ว่า a  b = (ay bz - az by ) i + (az bx - ax bz ) j + (ax by - ay bx ) k =

ผลคูณสเกลาร์ของเวกเตอร์หนึ่งหน่วย a  b i j k 1

ผลคูณเวกเตอร์ของเวกเตอร์หนึ่งหน่วย a  b i j k -j -k -i