การบรรยายพิเศษ สหกิจศึกษานานาชาติ International Cooperative Education โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย โครงการเตรียมความพร้อมสู่สหกิจศึกษานานาชาติ วันที่ 20 มีนาคม 2558 ณ โรงแรมนูโว ซิตี้ บางลำพู กรุงเทพฯ
Cooperative System of Education บัณฑิตสหกิจศึกษา รู้ทฤษฏีปฏิบัติได้ พร้อมทำงาน Prof.Herman Schneider University of Cincinnati 1941 สหกิจศึกษา ออกแบบความสัมพันธ์ ภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ อย่างมีดุลยภาพ เชื่อมโลกวิชาการกับ โลกของการทำงาน การศึกษาภาคทฤษฏี ความจริงทางทฤษฏี องค์ความรู้ การทดสอบและการประยุกต์ การศึกษาภาคปฏิบัติ การประยุกต์เพื่อผลิตสินค้าและบริการ การทำงานในสถานประกอบการ ประสิทธิภาพการผลิต
ผลการดำเนินงานสหกิจศึกษา บัณฑิตสหกิจศึกษา Work Skills Soft Skills Employability สถาบันอุดมศึกษา Qualification Responsiveness Accountability สถานประกอบการ Performance H R. Management Social Contribution การเชื่อมโยง ภาคทฤษฏี ภาคปฏิบัติ การปฏิบัติงาน ในสถานประกอบการ หลักการพื้นฐาน การปฏิบัติ ผลที่เกิดขึ้น
Standardization of Cooperative Education บัณฑิตสหกิจศึกษาคุณภาพ หลักสูตร สหกิจศึกษา การเตรียมความพร้อมนักศึกษา การปฏิบัติงานในสถานประกอบการ การนิเทศงาน การประเมินผลงาน Critical Reflection กำหนดมาตรฐานคุณภาพงานสหกิจศึกษา เพื่อความเชื่อมั่นว่าจะเกิดผลต่อคุณภาพของบัณฑิตสหกิจศึกษา
สหกิจศึกษานานาชาติ International Cooperative Education บัณฑิตสหกิจศึกษา High Performance Cross Culture Languages สหกิจศึกษานานาชาติ Internationalization International Placement International Cooperation สถาบันอุดมศึกษา Qualification Innovation Research สถานประกอบการ Globalization Competitiveness Knowledge Economy
รูปแบบการจัดสหกิจศึกษานานาชาติ ดำเนินการด้วยตนเอง ดำเนินการผ่านสถาบันอุดมศึกษาในต่างประเทศ ดำเนินการผ่านองค์กรกลาง (IEASTE,CIMO,WACE-ISO@SUT) ดำเนินการผ่านสถานประกอบการในประเทศ
กระบวนงานสหกิจศึกษานานาชาติที่สำคัญ การกำหนดนโยบายสหกิจศึกษานานาชาติ การเตรียมความพร้อมนักศึกษา การปฏิบัติตามมาตรฐานสหกิจศึกษา ระเบียบวิธีการเข้าเมือง การนิเทศการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา การประเมินสหกิจศึกษา
การกำหนดนโยบายสหกิจศึกษานานาชาติ สถาบันอุดมศึกษาต้องกำหนดนโยบายสหกิจศึกษานานาชาติ วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และมาตรการส่งเสริม สื่อสารให้คณาจารย์ นักศึกษา และผู้บริหารเกิดความรู้ ความเข้าใจ มาตรการยกระดับคุณภาพมาตรฐานบัณฑิต และความเป็นสากล ยกระดับหน่วยประสานงานสหกิจศึกษาสู่ระดับสากล การสร้างเครือข่ายสหกิจศึกษานานาชาติ
การเตรียมความพร้อมนักศึกษา การกำหนดคุณสมบัตินักศึกษาสหกิจศึกษานานาชาติ พัฒนาความสามารถในการสื่อสาร วัฒนธรรมการทำงานและชีวิตความเป็นอยู่
การปฏิบัติตามมาตรฐานสหกิจศึกษา ขั้นตอนก่อนปฏิบัติงานสหกิจศึกษา การสำรวจความต้องการ การรับรองคุณภาพงานสหกิศึกา ค่าใช้จ่ายสหกิจศึกษานานาชาติ ขั้นตอนระหว่างปฏิบัติงานสหกิจศึกษา การรายงานตัวสถานประกอบการ การวางแผนปฏิบัติงาน การติดตามความก้าวหน้า การนำเสนอผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนหลังปฏิบัติงานสหกิจศึกษา การรายงานตัวสถานประกอบการ การส่งรายงาน การประเมินผลวิธีการต่างๆ
ระเบียบวิธีการเข้าเมือง การเตรียมเอกสารรับรองสถานภาพนักศึกา ประกอบการ ขอ VISA และ Work Permit การตรวจสอบประเภท VISA ของนักศึกษาให้เหมาะสมที่ จะปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการได้
การนิเทศการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา การส่งอาจารย์ประจำไปนิเทศงานสหกิจศึกษาในต่างประเทศ การประสานความร่วมมืออาจารย์ประจำสถาบันในต่างประเทศ เป็นอาจารย์นิเทศแทน การนิเทศงานสหกิจศึกษาผ่านระบบ ICT
การประเมินสหกิจศึกษา การประเมินโครงการสหกิจศึกษานานาชาติ เพื่อการพัฒนาให้มี ประสิทธิภาพ การประเมิน “ผลการเรียนรู้” ของนักศึกษา โดยเฉพาะ ความสามารถในการปรับตัว การเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ประเมินมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่จะนำไปสู่การยกระดับมาตรฐาน การศึกษาของสถาบัน
ข้อเสนอแนะ สกอ ควรกำหนดมาตรการสนับสนุนสหกิจศึกษานานาชาติ สกอ ควรกำหนดมาตรการสนับสนุนสหกิจศึกษานานาชาติ สนับสนุนองค์กรกลางสหกิจศึกษานานาชาติ จัดตั้งกองทุน หรือ ทุนอุดหนุนนักศึกษา สนับสนุนการจัดตั้งเครือข่ายสหกิจศึกา ASEAN การจัดสหกิจศึกษานานาชาติ ควรดำเนินการด้วยความระมัดระวัง ต้องคำนึงถึง คุณภาพ มาตรฐาน และผลที่จะเกิดขึ้นกับนักศึกษาสห กิจศึกษา เป็นสำคัญ
สวัสดี