เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
ขอบเขตวิชา โครงสร้างองค์กร บทบาท หน้าที่งานตรวจสอบภายใน บทบาท หน้าที่งานตรวจสอบภายใน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2551
ความเป็นมา ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ. 2505 ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ. 2505 ให้หัวหน้าส่วนราชการและผู้ว่าราชการจังหวัด แต่งตั้งข้าราชการอย่างน้อย 1 คน เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบภายใน มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 17 สิงหาคม 2519 ให้ส่วนราชการที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม และส่วนราชการที่เทียบเท่า รวมถึงจังหวัด มีตำแหน่งอัตรากำลังของผู้ตรวจสอบภายในให้เหมาะสมกับแต่ละส่วนราชการ กระทรวงการคลังทำหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนด้านวิชาการ
โครงสร้างการตรวจสอบภายในภาคราชการ ผู้ตรวจราชการกระทรวง คณะรัฐมนตรี คตป. นายกรัฐมนตรี คตป. กระทรวง รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ผสน. กระทรวง ผู้ตรวจราชการกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด ผสน. กรม ผู้ตรวจราชการกรม ผสน. จังหวัด สำนัก กอง ศูนย์ ส่วนราชการ ส่วนราชการ
โครงสร้างการตรวจสอบภายในภาคราชการระดับกระทรวงและกรม ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ปลัดกระทรวง ผสน. กระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด ผสน. กรม ผสน. จังหวัด สำนัก กอง ศูนย์ ส่วนราชการ
บทบาท หน้าที่งานตรวจสอบภายใน บทบาท หน้าที่งานตรวจสอบภายใน เพื่อช่วยผู้ปฏิบัติงานในองค์กรให้ทำงานในหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละคนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อส่งเสริมให้มีการควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม
ความสำคัญและประโยชน์ของการตรวจสอบภายใน ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการที่ดี ส่งเสริมให้เกิดการบันทึกบัญชีและรายงานตามหน้าที่ ความรับผิดชอบ ส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ การปฏิบัติงาน เป็นมาตรการถ่วงดุลอำนาจ ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า
ปัจจัยความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน นโยบายและการสนับสนุนของฝ่ายบริหาร ความเข้าใจและการยอมรับของผู้รับตรวจ ความพร้อมของระบบงานและสารสนเทศ ความรู้ ทักษะ การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และมนุษย์สัมพันธ์ในการปฏิบัติงาน
การประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน เหตุผล - เพื่อเป็นการพัฒนา ปรับปรุงงานตรวจสอบภายในอย่างต่อเนื่อง - เพื่อให้เกิดความมั่นใจในกระบวนการและผลปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน - เพื่อให้ความเชื่อมั่นในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน - เพื่อเป็นการรักษาคุณภาพงานตรวจสอบภายใน
การกำหนดประเด็นที่ใช้ในการประเมิน มาตรฐาน การตรวจสอบภายในและจริยธรรม การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วย การตรวจสอบภายในของ ส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๕๑ คู่มือ/แนวทางปฏิบัติ การตรวจสอบภายใน ภาคราชการ หลักการบริหารคุณภาพโดยรวม (TQM : Total Quality Management)
มาตรฐานด้านคุณสมบัติ ๖ ประเด็น มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน ๑๐ ประเด็น ประเด็นการประเมินประเมิน มาตรฐานด้านคุณสมบัติ ๖ ประเด็น มาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน ๑๐ ประเด็น
๑. สรุปผล การประเมินแยกตามแต่ละประเด็น ๒. สรุปผล การประเมินในภาพรวม การสรุปผลการประเมิน ๑. สรุปผล การประเมินแยกตามแต่ละประเด็น ๒. สรุปผล การประเมินในภาพรวม
๑. สรุปผลการประเมินแยกตามแต่ละประเด็น ๑. สรุปผลการประเมินแยกตามแต่ละประเด็น เป็นการสรุปผลการประเมินว่าในแต่ละประเด็นการพิจารณา ว่ามีผลการปฏิบัติอยู่ในระดับใด ระดับ ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน เป็นไปตามมาตรฐาน ดีกว่า มาตรฐาน คะแนน ๐ ๑ ๒ ๓ ๔
๒. สรุปผลการประเมินในภาพรวม ๒. สรุปผลการประเมินในภาพรวม ๒.๑ ผ่านการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน ๒.๒ ไม่ผ่านการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน ได้คะแนนผลการประเมินฯ ระดับ ๓ ไม่ครบทุกประเด็น ระดับ “เป็นไปตามมาตรฐานระดับดี” ระดับ “เป็นไปตามมาตรฐาน” ได้คะแนนผลการประเมินฯ ตั้งแต่ระดับ ๓ เป็นต้นไป ทุกประเด็น และ มีคะแนนระดับ ๔ ตั้งแต่ ๙ ประเด็นขึ้นไป ได้คะแนนผลการประเมินฯ ตั้งแต่ระดับ ๓ เป็นต้นไป ทุกประเด็น และ มีคะแนนระดับ ๔ น้อยกว่า ๙ ประเด็น
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 ความหมาย หมวดที่ 1 ความทั่วไป หมวดที่ 2 หน้าที่ความรับผิดชอบ หมวดที่ 3 หน่วยรับตรวจ หมวดที่ 4 เบ็ดเตล็ด
ระเบียบ กค. ว่าด้วยการตรวจสอบภายใน ระเบียบการตรวจสอบภายใน ระเบียบ ระเบียบ กค. ว่าด้วยการตรวจสอบภายใน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2551 หลักการ - การบังคับใช้ ระเบียบ คำศัพท์ การรักษาการ ตามระเบียบ หมวด 1 ความทั่วไป หมวด 2 หน้าที่ ความรับผิดชอบ หมวด 3 หน่วยรับตรวจ หมวด 4 เบ็ดเตล็ด - สายการบังคับ บัญชา - ความเป็นอิสระ - การเข้าถึงข้อมูล - หน่วยงานที่รับผิดชอบ - จ้างผู้เชี่ยวชาญ หน้าที่ความ รับผิดชอบ ขอบเขตงาน - หน้าที่ความ รับผิดชอบ การตรวจสอบของ กระทรวงกลาโหม การจัดทำมาตรฐาน คู่มือ แนวปฏิบัติ ปัญหาตามระเบียบ
โครงสร้างและสายการบังคับบัญชาของผู้ตรวจสอบภายใน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง/ ระเบียบการตรวจสอบภายใน ระเบียบ โครงสร้างและสายการบังคับบัญชาของผู้ตรวจสอบภายใน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง/ รัฐมนตรีช่วยฯ ผู้ว่าราชการจังหวัด ปลัดกระทรวง ผู้ตรวจสอบภายใน จังหวัด ผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวง ราชการใน จังหวัด ที่ขึ้นตรง ส่วนกลาง ราชการ บริหาร ส่วนภูมิภาค ราชการ บริหาร ส่วนท้องถิ่น อธิบดี อธิบดี ผู้ตรวจสอบภายใน กรม ผู้ตรวจสอบภายใน กรม สำนัก/กอง สำนัก/กอง สำนัก/กอง สำนัก/กอง
การตรวจสอบภายใน กิจกรรมการให้ความเชื่อมั่นและการให้คำปรึกษาอย่างเที่ยงธรรมและเป็นอิสระ ซึ่งจัดให้มีขึ้นเพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่วนราชการ ให้ดีขึ้น การตรวจสอบภายในจะช่วยให้ส่วนราชการบรรลุถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ด้วยการประเมิน และปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมและการกำกับดูแลอย่างเป็นระบบ
ส่วนราชการ กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า แต่ไม่รวมถึงรัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง อธิบดี หรือหัวหน้าของส่วนราชการ ที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า ผู้ว่าราชการจังหวัด
หน่วยงานตรวจสอบภายใน หน่วยงานที่รับผิดชอบงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการตามที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการ ให้ปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ
หน่วยงานที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของส่วนราชการ หน่วยรับตรวจ หมายถึง หน่วยงานที่รับผิดชอบในการปฏิบัติงานของส่วนราชการ
หน่วยงานที่ควบคุมดูแล กระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงการคลัง เป็นผู้รักษาการตามระเบียบ
ความทั่วไป ขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ จัดสรรบุคลากรและทรัพยากรที่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมกับปริมาณงาน มีความเป็นอิสระ ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียในกิจกรรม ที่ตรวจสอบ ไม่ควรเป็นกรรมการ มีสิทธิในการเข้าถึงบุคคล ข้อมูล เอกสารหลักฐาน และทรัพย์สินต่าง ๆ รวมทั้งเข้าร่วมประชุมกับผู้บริหาร
ความทั่วไป (ต่อ) ในกรณีมีความจำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางมาร่วมปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน หัวหน้าส่วนราชการอาจแต่งตั้งผู้ที่เหมาะสมจากหน่วยงานภายในส่วนราชการ หรือจากส่วนราชการอื่นให้ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบภายใน หรือจ้างผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกก็ได้
สายการบังคับบัญชาและหน่วยงานที่รับผิดชอบ ระเบียบการตรวจสอบภายใน ระเบียบ สายการบังคับบัญชาและหน่วยงานที่รับผิดชอบ ผู้ตรวจสอบภายใน กระทรวง ผู้ตรวจสอบภายใน กรม ผู้ตรวจสอบภายใน จังหวัด ขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวง ตรวจสอบส่วนราชการใน สังกัดกระทรวง ขึ้นตรงต่อผู้ว่าราชการจังหวัด ตรวจสอบราชการบริหาร ส่วนภูมิภาค ขึ้นตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ ตรวจสอบราชการบริหาร ส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ต่างประเทศ
ความทั่วไป (ต่อ) ผู้ตรวจสอบภายในของส่วนราชการระดับกระทรวงตรวจสอบส่วนราชการระดับกรม * ต้องเป็นการตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน งานโครงการที่มีความสำคัญต่อผลสำเร็จของนโยบายกระทรวง * เป็นงานโครงการที่ได้รัยนโยบายให้ติดตามกำกับดูแลเป็นกรณีพิเศษ * โดยให้ประสานแผนการตรวจสอบกับส่วนราชการ
ความทั่วไป (ต่อ) ผู้ตรวจสอบภายในของส่วนราชการระดับกรมตรวจสอบราชการบริหารส่วนกลาง * ในกรณีที่มีความจำเป็นหรือสมควร อาจมอบหมายให้ตรวจสอบส่วนราชการในสังกัดราชการบริหารส่วนภูมิภาคได้
ผู้ตรวจสอบภายในของจังหวัดตรวจสอบ ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ความทั่วไป (ต่อ) ผู้ตรวจสอบภายในของจังหวัดตรวจสอบ ราชการบริหารส่วนภูมิภาค * ตรวจสอบส่วนราชการในส่วนกลางตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาคเฉพาะในส่วนที่ผู้ว่าราชการจังหวัดได้รับมอบอำนาจให้ดำเนินการแทน
ระเบียบการตรวจสอบภายใน กำหนดเป้าหมาย ทิศทาง การประกันคุณภาพ กำหนดกฎบัตร หมวด 2 หน้าที่ ความรับผิดชอบ ติดตามผล จัดทำแผนการตรวจสอบ การรายงานผลการตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบ ให้คำปรึกษา / ประสานงาน / ปฏิบัติงานอื่น
หน้าที่ความรับผิดชอบ หน่วยงานตรวจสอบภายใน * กำหนดเป้าหมาย ทิศทาง ภารกิจของงานตรวจสอบภายใน * กำหนดกฎบัตร * จัดให้มีการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายใน * ในกรณีที่หัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบให้ว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกมาร่วมปฏิบัติงานตรวจสอบ
หน้าที่ความรับผิดชอบ (ต่อ) หน้าที่ความรับผิดชอบ (ต่อ) * ให้ปฏิบัติงานตรวจสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานและคู่มือแนวปฏิบัติการตรวจสอบภายในของกรมบัญชีกลาง
การเสนอแผนการตรวจสอบ แผนการตรวจสอบประจำปี เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในเดือน ก.ย. เสนอ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้ว่าราชการจังหวัด ในกรณีที่หน่วยงานตรวจสอบภายในวางแผนการตรวจสอบมี ระยะเวลาตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไปให้เสนอแผนการตรวจสอบระยะยาว เพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติแผนการตรวจสอบประจำปีด้วย
การเสนอแผนการตรวจสอบ (ต่อ) กรณีระดับกระทรวงตรวจสอบระดับกรม ให้สำเนาแผนการตรวจสอบให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมทราบด้วย กรณีระดับกรมตรวจสอบส่วนราชการ ส่วนภูมิภาค ให้สำเนาแผนการตรวจสอบให้ ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบด้วย
การวางแผนการตรวจสอบ การวางแผนการตรวจสอบส่วนราชการระดับกรม ให้ผู้ตรวจสอบภายในของส่วนราชการระดับกระทรวงประสานงานกับผู้ตรวจสอบภายในของส่วนราชการระดับกรม
ระเบียบการตรวจสอบภายใน การจัดทำแผนการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบ ผู้ตรวจสอบภายใน หัวหน้าส่วนราชการ ส่วนราชการอื่น สำเนาให้หัวหน้า ส่วนราชการระดับกรม กรณีกระทรวง จัดทำแผนการ ตรวจสอบประจำปี เสนอ ภายใน ก.ย. พิจารณาอนุมัติ แผนฯ สำเนาให้ผู้ว่าราชการ จังหวัด กรณี กรม ปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนฯ สำเนาให้หัวหน้า ส่วนราชการระดับกรม กรณีกระทรวง จัดทำรายงานผลการตรวจสอบ เสนอ พิจารณาสั่งการ ตามรายงานผล การตรวจสอบ สำเนาให้ผู้ว่าราชการ จังหวัด กรณี กรม ภายในเวลา อันควร หรืออย่างน้อยทุก 2 เดือนนับจากวันที่ตรวจสอบแล้วเสร็จ สำเนาให้ส่วนราชการเจ้าสังกัดของหน่วยรับตรวจ กรณี จังหวัด
การเสนอรายงานผลการตรวจสอบ ภายในเวลาอันสมควร อย่างน้อยทุก 2 เดือน เสนอ หัวหน้าส่วนหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
การเสนอรายงานผลการตรวจสอบ (ต่อ) การเสนอรายงานผลการตรวจสอบ (ต่อ) กรณีผู้ตรวจสอบภายในของจังหวัดตรวจสอบส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาค ให้ส่งสำเนารายงานผลการตรวจสอบให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าสังกัดของหน่วยรับตรวจทราบด้วย กรณีผู้ตรวจสอบภายในของส่วนราชการระดับกรม ตรวจสอบส่วนราชการในส่วนภูมิภาค ให้ส่งสำเนารายงานผลการตรวจสอบให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทราบด้วย
ระเบียบการตรวจสอบภายใน ขอบเขตงานของผู้ตรวจสอบภายใน Process Input Output Outcome Impact ประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผลการดำเนินงาน สอบทานการปฏิบัติตามข้อกำหนด สอบทานความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล ตรวจสอบการดูแลรักษาทรัพย์สิน ความคุ้มค่าของการใช้ทรัพย์สิน
ขอบเขตของการตรวจสอบ ตลอดจนคุณภาพของการปฏิบัติงาน ซึ่งรวมถึง ให้ครอบคลุมถึงการตรวจสอบ วิเคราะห์ รวมทั้งการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนคุณภาพของการปฏิบัติงาน ซึ่งรวมถึง 1. ประเมินความมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของการดำเนินงาน เสนอแนะการปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกำกับดูแลอย่างต่อเนื่อง 2. สอบทานระบบการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน และ / หรือระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งที่ทางราชการกำหนด
ขอบเขตของการตรวจสอบ (ต่อ) 3. สอบทานความเชื่อถือได้ของข้อมูลการดำเนินงานและการเงินการคลัง ตรวจสอบระบบการดูแลรักษา และความปลอดภัยของทรัพย์สิน ประเมินผลการดำเนินการเกี่ยวกับการเงินการคลังของส่วนราชการ วิเคราะห์และประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากร
หน้าที่ความรับผิดชอบ หน่วยรับตรวจ หน้าที่ความรับผิดชอบ 1. อำนวยความสะดวก / ให้ความร่วมมือแก่ผู้ตรวจสอบภายใน 2. จัดให้มีระบบการเก็บเอกสาร ที่เหมาะสมและครบถ้วน 3. จัดเตรียมรายละเอียดแผนงาน / โครงการ และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน
หน้าที่ความรับผิดชอบ (ต่อ) หน่วยรับตรวจ หน้าที่ความรับผิดชอบ (ต่อ) 4. จัดทำบัญชี จัดเก็บเอกสารประกอบรายการบัญชี พร้อมที่จะให้ผู้ตรวจสอบภายในตรวจสอบได้ 5. ชี้แจง ตอบข้อซักถาม และหาข้อมูล เพิ่มเติม 6. ปฏิบัติตามข้อทักท้วง และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจสอบภายใน
ในกรณีที่ จงใจไม่ปฏิบัติ / ละเลย ต่อการปฎิบัติหน้าที่ หน่วยรับตรวจ จงใจไม่ปฏิบัติ / ละเลย ต่อการปฎิบัติหน้าที่ รายงานให้หัวหน้าส่วนราชการ / ผู้ว่าราชการจังหวัด พิจารณาสั่งการตามควรแก่กรณี ผู้ตรวจสอบภายใน หัวหน้าส่วนราชการ / ผู้ว่าฯ
Q & A ขอบคุณและสวัสดี