การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Performance Management and appraisal systems
Advertisements

ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement) ลักษณะสำคัญขององค์กร
ประเด็น 1. ที่มาและความสำคัญของสมรรถนะ 2. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management).
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ขั้นที่ 1 ออกแบบ โครงสร้างการ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2 ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รายบุคคล (Performance Management.
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
KS Management Profile.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
หน่วยงานที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย เวลา น. Process Key factor คำถาม (1) มีแนวทางและวิธีการอย่างไรในการส่งมอบผลิตภัณฑ์หลักและ/หรือ บริการหลักที่เราส่งมอบให้กับลูกค้าของเรา.
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
The Balanced Scorecard & KPI
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการกระบวนการ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
การจัดทำ KEY PERFORMANCE INDICATORS (KPIs) COMPETENCY
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
แนวทางการจัดทำคำของบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
Management Review Based On ISO 9001 : 2008
4. เกณฑ์การให้คะแนนการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล

 กรอกแบฟอร์ม 1 – 4 ตามแบบของ ก.พ. เราต้องทำอะไรบ้าง....? (ช่วงต้นปีงบประมาณ) (ช่วงปลายปีงบประมาณ) ทำการตกลงกัน ระหว่างผู้ประเมิน กับ ผู้รับการประเมิน - งานที่ รับ/มอบหมาย อะไรบ้าง - อยากให้งานมีผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์ แค่ไหน...อย่างไร - แปลง “สิ่งที่อยากให้บรรลุ” เป็น ตัวชี้วัด (KPIs) พร้อมทั้งกำหนดเป้าหมาย (Target)►ค่าคะแนน ผู้รับการประเมิน ทำการประเมินตนเอง โดยพิจารณาว่าการดำเนินงานภายใต้ตัวชี้วัด มีผลตามเป้าหมายแค่ไหน - ไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่คาดหวัง คะแนน 1 – 2 - เป็นไปตามเป้าหมายที่คาดหวัง คะแนน 3 - มีผลเกินความคาดหวัง คะแนน 4 – 5  กรอกแบฟอร์ม 1 – 4 ตามแบบของ ก.พ. ส่งให้ผู้ประเมินพิจารณา ส่ง กจ. ดำเนินการขั้นตอนต่อไป

ตัวชี้วัดผลสำเร็จของงาน (key Performance Indicators) KPIs คือ ?

ตัวชี้วัดผลสำเร็จของงาน (key Performance Indicators) KPIs เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดผลการปฏิบัติงานหรือประเมินผลการดำเนินงานในด้านต่างๆ ซึ่งสามารถแสดงผลการวัดหรือประเมินผลการวัดในรูปข้อมูลเชิงปริมาณ เพื่อสะท้อนประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัดแต่ละระดับ ตัวชี้วัดระดับองค์กร(organization indicators) ตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน(Department indicators) ตัวชี้วัดระดับบุคคล (Individual Indicators) ตัวชี้วัด - ยุทธศาสตร์กระทรวง/สป. - คำรับรองการปฏิบัติราชการกระทรวง/สป. ตัวชี้วัดกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม ตัวชี้วัดของแต่ละบุคลากร

การกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล (Individual Indicators) เพื่อ....

ประโยชน์การกำหนด KPIs 1.ทำให้พนักงานทราบว่า ตนเองต้องทำงานให้เกิดผลลัพธ์สุดท้าย หรือทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์อะไร 2. สามารถกำหนดตัวชี้วัดที่หลากหลายและครอบคลุมงานหลักได้ 3. การประเมินผลงานจะง่ายขึ้น เพราะประเมินตามตัวชี้วัดหลัก และมีมาตรฐานการวัดที่ชัดเจน 4. เป็นการทวนสอบว่า ผลงานรายบุคคล สอดคล้องกับเป้าหมายหลัก ขององค์กร 5. สามารถนำไปปรับปรุงมาตรฐานการทำงาน บุคคล องค์กรเพื่อมี Productivity สูงขึ้น

การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน วิธีการกำหนดตัวชี้วัด 1.การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง วิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัด ถ่ายทอดลงมาโดยตรง แบ่งค่าตัวเลขเป้าหมาย แบ่งเฉพาะด้านที่มอบหมาย 2.การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน 3.การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ 4.การพิจารณาจากประเด็นที่ต้องปรับปรุง 8

การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน ระดับองค์กร เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร ผลสัมฤทธิ์ที่สนับสนุนต่อ เป้าหมายระดับองค์กร ผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจและอื่นๆ เป้าประสงค์ในระดับหน่วยงาน ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดในระดับหน่วยงาน ผลสัมฤทธิ์ที่สนับสนุนต่อเป้าหมายของผู้บังคับบัญชา ผลสัมฤทธิ์ตาม บทบาท หน้าที่ ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล 9

1. สรุปวัตถุประสงค์หลักของตำแหน่งงาน Role Profile องค์ประกอบ 1. สรุปวัตถุประสงค์หลักของตำแหน่งงาน 2. เขียนภาระกิจหลัก งานในความความรับผิดชอบ 3. กำหนด % ของเวลาที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม

ลักษณะตัวชี้วัดระดับบุคคลหรือตำแหน่งงาน 1. ตัวชี้วัดตัวเดียวกับตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน 2. ตัวชี้วัดที่สนับสนุนตัวชี้วัดในระดับหน่วยงาน 3. ตัวชี้วัดตามหน้าที่งาน (งานประจำที่ต้องพัฒนา) 4. ตัวชี้วัดตามมาตรฐาน /สายงานร่วม

ประเภทของตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย 1.ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการวัดสิ่งที่นับ ได้ เช่น ร้อยละ เวลา จำนวน เหมาะสำหรับสิ่งที่จับต้องได้ มีความ ชัดเจน 2.ตัวชี้วัดเชิงปริมาณที่ใช้วัดสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น ความพึงพอใจ ประเมินพฤติกรรม 3.ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตัวชี้วัดที่อิงกับค่าเป้าหมายเชิงพรรณนา ไม่ เป็นตัวเลขเชิงปริมาณ ผู้ประเมินต้องใช้วิจารณญาณในการพิจารณา เช่นระดับความสำเร็จ การผ่านเกณฑ์ ส่วนใหญ่ใช้วัดการดำเนินงาน เป็นขั้นตอน(Milestone)

ตัวอย่าง การจัดทำตัวชี้วัดตำแหน่งงานหัวหน้างานบริหารทั่วไป กิจกรรม/ขอบเขต ผลลัพท์ที่ต้องการ กลุ่มผลงานหลัก ตัวชี้วัดบุคคล ด้านบุคลากร *ข้อมูลบุคคลถูกต้องเป็นปัจจุบัน *คำสั่งมีความถูกต้องรวดเร็ว คุณภาพ ค่าใช้จ่าย เวลา *% ความพึงพอใจ *จำนวนครั้งที่เกิดปัญหาที่ กระทบงานอื่นๆ *% ความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลประวัติ *จำนวนข้อร้องเรียน/ท้วงติง ธุรการสารบรรณ *ส่งเอกสารถูกต้องทันเวลา *เอกสารไม่สูญหาย/ค้นหาได้สะดวก พัสดุ *ได้ของตามความต้องการของผู้ใช้ *ประหยัดงบประมาณ *%งบประมาณที่ประหยัด ยานพาหนะและอาคารสถานที่ *ยานพาหนะอยู่ในสภาพพร้อมใช้ *ความสะดวกสบายของใช้บริการ *สถานที่สะอาดสวยงาม ปลอดภัย *เวลาที่ใช้ในการส่งเอกสาร การปรับปรุงงาน *ให้งานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ * จำนวนงานที่ปรับปรุง

ตัวอย่าง การจัดทำตัวชี้วัดตำแหน่งหัวหน้างานบัญชีการเงิน กิจกรรม/ขอบเขต ผลลัพท์ที่ต้องการ กลุ่มผลงาน ตัวชี้รายบุคคล ประมาณการกระแสเงินสดและการรับจ่ายเงิน *ถูกต้องครบถ้วนตามระเบียบ *กระแสเงินสดไม่ขาดสภาพ คล่อง *มีความรวดเร็วทันเวลา คุณภาพ เวลา ประสิทธิภาพ *จำนวนครั้งที่หน่วย ตรวจสอบให้แก้ไข *จำนวนครั้งที่ขาดสภาพ คล่อง/กระทบงานอื่นๆ * % ความพึงพอใจ จัดทำและตรวจเอกสารการเงินใบสำคัญ *ถูกต้องตามระเบียบ *มีข้อมูลเอกสารครบถ้วน *จำนวนครั้งที่ปิดบัญชี ไม่ทันกำหนด * เวลาที่ใช้ดำเนินการตั้งแต่รับใบสำคัญจ่ายเงิน งบการเงินและการให้ประเภทบัญชี *เสร็จสิ้นตามกำหนด ลงบัญชีและปิดบัญชี *ปิดบัญชีตามกำหนด * จำนวนงานที่ปรับปรุง การปรับปรุงงาน *เพิ่มประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดบุคคล(KPIS) แบบประเมินผลตำแหน่งหัวหน้างานบริหารทั่วไป ตัวชี้วัดบุคคล(KPIS) หน่วย นับ น้ำหนัก (%) เป้าหมาย ระดับผลงาน 5-4-3-2-1 % ผลสำรวจความพึงพอใจ ร้อยละ 20 90 จำนวนครั้งที่เกิดปัญหาที่กระทบงานอื่นๆ ครั้ง 5 %ความถูกต้องครบถ้วนของข้อมูลระวัติ 15 95 จำนวนข้อร้องเรียน/ท้วงติง %งบประมาณที่ประหยัด 10 เวลาที่ใช้ในการส่งเอกสาร วัน ครึ่ง จำนวนงานที่ปรับปรุง เรื่อง 2

ตัวชี้วัดบุคคล(KPIS) แบบประเมินผลตำแหน่งหัวหน้างานบัญชีการเงิน ตัวชี้วัดบุคคล(KPIS) หน่วย นับ น้ำหนัก (%) เป้าหมาย ระดับผลงาน 5-4-3-2-1 จำนวนครั้งที่หน่วยตรวจสอบให้แก้ไข ครั้ง 20 4 จำนวนครั้งที่ขาดสภาพคล่อง/กระทบงานอื่นๆ 15 5 % ความพึงพอใจ(ดี) ร้อยละ 90 จำนวนครั้งที่ปิดบัญชีไม่ทันกำหนด 2 เวลาที่ใช้ดำเนินการตรวจ-จ่าย ชั่วโมง จำนวนงานที่ปรับปรุง เรื่อง

ประโยชน์การกำหนด KPIs ในมุมมององค์การ 1.นำไปใช้ประกอบการปรับแผนปฏิบัติการและกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อให้ผลประกอบการของบริษัท หรือผลการเงิน (Financial) บรรลุเป้าหมาย หรือขยับเป้าหมาย 2. เพื่อปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานภายใน (Internal Business) เพื่อพัฒนาแนวทางธุรกิจ นโยบายด้านบุคคล ให้ตอบสนองความ พึงพอใจลูกค้าให้เพิ่มขึ้น (Customer Satisfaction)

ประโยชน์การกำหนด KPIs ในมุมมองการบริหารบุคคล * เพื่อทราบถึงศักยภาพของบุคลากรในการปฏิบัติงาน * นำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร และการจัดหน้าที่งานให้เหมาะสมกับตำแหน่งงานและบุคคล * เพื่อใช้ผลการประเมินในการปรับค่าจ้าง/เลื่อนขั้นเงินเดือน * เพื่อสร้างระบบความเป็นธรรมให้เกิดกับบุคลากร

ค่านิยม หรือ ปรัชญาองค์กร พฤติกรรมสู่ความสำเร็จ วิสัยทัศน์ What How แผนธุรกิจ ค่านิยม หรือ ปรัชญาองค์กร (Core Value) เป้าหมายหน่วยงาน พฤติกรรมสู่ความสำเร็จ (Competency) เป้าหมายบุคคล (KPIs) การบริหารผลงาน (Performance Management)

+ = ผลงาน ผลสำเร็จของงาน ตามเป้าหมาย การแสดงพฤติกรรม สู่ความสำเร็จ Performance KPI = What Competency = How - ปรับแผนกลยุทธ์ - ปรับปรุงกระบวนการ ทำงาน - ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ - พัฒนาขีดความสามารถ ของบุคลากร ให้มีความ เชี่ยวชาญในงานที่ปฏิบัติ

สรุปงานที่นำมากำหนดเป็นตัวชี้วัดระดับบุคคล 3. งานตาม ภารกิจหลัก ๑. งานตามยุทธศาสตร์ 2. งานตามคำรับรองฯ การปฏิบัติราชการ ๔. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ งานตามนโยบายรัฐบาล งานตามแผน ปฏิบัติราชการ งานตามแผนงบประมาณประจำปี งานตามกรอบ คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ ของ ก.พ.ร. สำนักนายกฯ งานประจำตามอำนาจหน้าที่ ที่ปรากฏในโครงสร้างหน่วยงาน หรือภารกิจตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ งานอื่นๆ นอกเหนือจาก ข้อ 1 – 3 หรืองานเฉพาะกิจ ที่ได้รับมอบหมาย จากผู้บริหารให้ดำเนินการ

ตัวชี้วัดกระบวนการ

ตัวชี้วัดกระบวนการ (ต่อ)

ตัวชี้วัดกระบวนการ (ต่อ)

ตัวชี้วัดกระบวนการ (ต่อ)

ตัวชี้วัดกระบวนการ (ต่อ)

ตัวชี้วัดกระบวนการ (ต่อ)

ตัวชี้วัด : ระดับกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม ตัวชี้วัด : ระดับกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม งาน/โครงการ ชื่อตัวชี้วัด น้ำหนัก (ร้อยละ) 1. งานผลักดันการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ สป. ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) ของกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม 40   2. งานผลักดันการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สป. ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ด้านการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและน้ำ 20 3. งานผลักดันการเบิกจ่ายงบประมาณของกอง ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ของกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม 4. งานพัฒนาองค์การ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 10 5. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ ระดับความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ หมายเหตุ การกำหนดตัวชี้วัด มีปัจจัยในการพิจาณา ดังนี้ - ตัวชี้วัดที่ 1. เป็นการประเมินประสิทธิภาพของ ผอ. ในการบริหารจัดการงานที่เป็นภารกิจหลักของ กอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม งานตามแผนยุทธศาสตร์และแผนการจัดสรรงบประมาณ ของ สป. รวมทั้งงานภายใต้ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการด้านประสิทธิผลของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ กระทรวงและสำนักงานปลัดกระทรวง - ตัวชี้วัดที่ 2. เป็นการถ่ายทอดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของ สป. ด้านการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและการประหยัดน้ำ - ตัวชี้วัดที่ 3. เป็นการประเมินประสิทธิภาพของ ผอ. ในการบริหารจัดการ/การเบิกจ่ายงบประมาณของ กอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม - ตัวชี้วัดที่ 4. เป็นการประเมินผลการดำเนินการพัฒนาปรับปรุงระบบการบริหารจัดการของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ให้มีคุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (PMQA Fundamental Level) ฉบับที่ 2 - ตัวชี้วัดที่ 5. เป็นการประเมินความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษจากผู้บังคับบัญชาให้ดำเนินการ ซึ่งเป็นงานที่นอกเหนือจากภารกิจหลักและงานตามยุทธศาสตร์

การถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับบุคคล ชื่อตัวชี้วัดกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติงาน (Action Plan) ของกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม ระดับความสำเร็จของการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดร่วมตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม ร้อยละของระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารจัดการหน่วยงานระดับกอง/ศูนย์/สถาบัน/กลุ่ม ระดับความสำเร็จของการดำเนินการควบคุมภายใน ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับความสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ ผู้รับผิดชอบ โครงการ/กิจกรรม 1 หัวหน้าฝ่าย/กลุ่มงาน.................. โครงการ/กิจกรรม 2 โครงการ/กิจกรรม 3 โครงการ/กิจกรรม 4 งาน/กิจกรรม 5 งาน/กิจกรรม 6 งาน/กิจกรรม 7 งาน/กิจกรรม............................. ขั้นตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 1 ชื่อผู้ปฏิบัติ................................. ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตอนที่ 5 ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนที่ 7

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พณ. ด้วยความปรารถนาดี กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป.พณ. 6 กันยายน 2559