ปัจจัย และ พฤติกรรมบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจัย และ พฤติกรรมบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรณีศึกษา อำเภอปง จังหวัดพะเยา คณะทำงานศึกษาชุมชน อำเภอปง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา

พื้นที่ศึกษา พื้นที่ และชุมชนศึกษา จังหวัดพะเยา อำเภอปง ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค พื้นที่ศึกษา เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ จังหวัดพะเยา จังหวัดพะเยา 9 อำเภอ อำเภอปง ประชากร 55,083 คน อำเภอปง พื้นที่ และชุมชนศึกษา บ้านเลี้ยว หมู่ 10 ต. งิม อ.ปง 273 หลังคาเรือน, ประชากร 636 คน

ศึกษา วัตถุประสงค์การศึกษา ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค วัตถุประสงค์การศึกษา เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ ศึกษา ลักษณะพฤติกรรมบริโภค และผลกระทบในชีวิตประจำวัน 1 ศึกษาเชิงปริมาณโดยสำรวจชุมชน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ ตามแบบสอบถาม ศึกษาเชิงคุณภาพโดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การจำหน่ายปลีก และการบริโภคในเทศกาลสงกรานต์ 2 ศึกษาเชิงคุณภาพโดยการสังเกต และพูดคุยแบบธรรมชาติ การศึกษาเบื้องต้นเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังในชุมชน 3 พัฒนาระบบเฝ้าระวังดำเนินการโดยชุมชน สนับสนุนโดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่

การจำหน่าย การผลิตเพื่อบริโภค - ร้านค้าถาวร 5 ร้าน ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การผลิต และจำหน่ายในชุมชน เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ - ร้านค้าถาวร 5 ร้าน - การจำหน่ายแอบแฝง 4 ครัวเรือน - การจำหน่ายตรง การจำหน่าย - ครัวเรือน - ชุมชน การผลิตเพื่อบริโภค

การผลิตสุราตามภูมิปัญญาชุมชน ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การผลิตสุราตามภูมิปัญญาชุมชน เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ แป้งข้าวหมาก การหมัก การต้มกลั่น

ทุกหลังคาเรือนมีสมาชิกอย่างน้อย 1 คนที่ดื่ม ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค ข้อมูลการสำรวจครัวเรือน 55 หลังคาเรือน สมาชิกครัวเรือน 217 คน เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ สถานภาพการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทุกหลังคาเรือนมีสมาชิกอย่างน้อย 1 คนที่ดื่ม สมาชิกที่ดื่มจำนวน 129 คนคิดเป็นร้อยละ 58.9 ชาย ดื่ม 81 คน ไม่ดื่ม 36 คน สัดส่วน ดื่ม : ไม่ดื่ม = 2.25 : 1 หญิง ดื่ม 48 คน ไม่ดื่ม 54 คน สัดส่วน ดื่ม : ไม่ดื่ม = 0.89 : 1

การเริ่มดื่มครั้งแรก ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การสัมภาษณ์บุคคลที่ดื่ม ชาย 42 คน หญิง 26 คน รวม 68 คน เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ การเริ่มดื่มครั้งแรก สาโทคือเครื่องดื่มชนิดแรก ร้อยละ 26.5 อายุน้อยที่สุด ที่เริ่มดื่มครั้งแรก คือ 14 ปี กลุ่มอายุ 15 – 19 ปี เริ่มดื่มมากสุดคิดเป็น ร้อยละ 44.12 เหตุผลการดื่มครั้งแรก เพื่อนชวน ร้อยละ 26.5 ฉลองโอกาสพิเศษ ร้อยละ 11.2

โอกาสการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การสัมภาษณ์บุคคลที่ดื่ม ชาย 42 คน หญิง 26 คน รวม 68 คน เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ โอกาสการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เทศกาลสงกรานต์ ร้อยละ 17.65 งานมงคลสมรส ร้อยละ 13.24 ปีใหม่ กลุ่มเพื่อน และหลังเลิกงาน ร้อยละ 7.35

ทัศนคติต่อการดื่มเอง บุคคลในครอบครัว และ คนเมา ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การสัมภาษณ์บุคคลที่ดื่ม ชาย 42 คน หญิง 26 คน รวม 68 คน เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ ทัศนคติต่อการดื่มเอง บุคคลในครอบครัว และ คนเมา เฉยๆ เป็นเรื่องปกติธรรมดา มีเพื่อนเยอะ , กล้าแสดงออก, สนุกสนาน ดื่มแต่น้อยดีต่อสุขภาพ ด้านบวก เกิดการทะเลาะเบาะแว้ง ดื่มมากเสียสุขภาพ,ขาดสติ, เกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวเดือดร้อน รำคาญชาวบ้าน ด้านลบ

ต่อสุขภาพ ต่อครอบครัว ต่อชุมชน การเจ็บป่วย ร้อยละ 7.35 ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค ผลกระทบจากการดื่ม ของบุคคลที่ดื่ม จำนวน 68 คน ที่ให้สัมภาษณ์ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ การเจ็บป่วย ร้อยละ 7.35 ต่อสุขภาพ การทะเลาะวิวาท ร้อยละ 5.28 อุบัติเหตุ ร้อยละ 2.94 ทะเลาะวิวาท ร้อยละ 2.94 ต่อครอบครัว เหตุรำคาญ ร้อยละ 2.94 ต่อชุมชน

กิจกรรมที่มีการดื่ม การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในงานศพ ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในงานศพ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ กิจกรรมที่มีการดื่ม การสร้างเรือนตาน อุทิศให้ผู้ตาย เหล้าขาววันละ 1 ขวด เป็นขันตั้งสำหรับช่างและผู้ช่วยดื่ม การอยู่เวรเฝ้าศพตอนกลางคืนทุกคืนๆละประมาณ 10 คน เหล้าขาว 1 ขวด พร้อมกับแกล้มเล็กน้อย พิธีขึ้นบ้านใหม่ที่จะอุทิศให้แก่ผู้ตาย จำลองคล้ายงานจริง มีสำรับกับข้าว และเหล้าขาวเลี้ยงแขก การเผาศพ ช่วงรอไฟวอด ญาติและผู้ที่อยู่ช่วยที่ป่าช้า จะมีเหล้าขาวและกับแกล้ม นั่งดื่มและพูดคุยกัน การเลี้ยงขอบคุณผู้ที่ช่วยเก็บของที่บ้านหลังเสร็จงานศพ มีอาหารและเหล้าขาว

การจำหน่ายเพิ่มสูงขึ้นมาก ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การจำหน่าย และ ดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเทศกาลสงกรานต์ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ การจำหน่ายเพิ่มสูงขึ้นมาก ร้านค้าถาวร, ครัวเรือนที่จำหน่ายแอบแฝง ร้านค้าเฉพาะกิจ จำนวน 3 แห่ง มีลักษณะเป็นเพิงชั่วคราว ตั้งอยู่ตามข้างถนนในหมู่บ้าน จำหน่ายทั้งอาหาร และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การผลิตเพื่อการบริโภคเองในครัวเรือน

วงชิมเหล้า 1 วง 12 เมย 2543 การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ ปัจจัยที่รวมกลุ่ม ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ วงชิมเหล้า 1 วง 12 เมย 2543 ปัจจัยที่รวมกลุ่ม การชิมเหล้าที่ลงหุ้นกันหมักและกลั่นเอง สถานที่ บ้านที่ต้มกลั่นเหล้า บุคคลที่ร่วมดื่ม สามี-ภรรยาเจ้าบ้าน และเพื่อนบ้านชายอีก 2 คน บริบทการดื่ม รินเหล้าใส่แก้วใบเดียวครั้งละประมาณ 30 ซีซี ยกดื่มทีเดียวหมดตามด้วยการดื่มน้ำหรือรับประทานอาหาร มีการพูดคุยกันระหว่างดื่ม จำนวนเครื่องดื่ม เหล้าที่ผลิตเอง จำนวน 1 แก้ว (~250 ซีซี) เวลาที่ใช้ ประมาณ 30 นาที

วงจีบสาว 1 วง 12 เมย 43 การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ ปัจจัยที่รวมกลุ่ม ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ วงจีบสาว 1 วง 12 เมย 43 ปัจจัยที่รวมกลุ่ม การเปิดร้านค้าเฉพาะกิจขายอาหารและเครื่องดื่ม ช่วงเทศกาลสงกรานต์ สถานที่ ร้านค้าเฉพาะกิจ ลักษณะเป็นเพิงชั่วคราว ตั้งอยู่ข้างถนนภายในหมู่บ้าน จำน่ายก๋วยเตี๋ยว,ส้มตำ,ขนมขบเคี้ยว,เบียร์,เหล้าแดง ส่วนเหล้าเถื่อนจะแอบเก็บไว้ในกระติกน้ำ ถ้าลูกค้าสั่งก็จะหยิบให้ บุคคลที่ร่วมดื่ม วัยรุ่นชายจากต่างหมู่บ้าน 3 คน วัยรุ่นหญิงเจ้าของร้าน 5 คน (กำลังเรียนอยู่ ม.ปลาย)

วงจีบสาว การเริ่มดื่มฯ ของหญิงวัยรุ่น บริบทการดื่ม ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค วงจีบสาว เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ บริบทการดื่ม ดื่มไปพูดคุยกันไประหว่างลูกค้ากับกลุ่มเจ้าของร้าน วัยรุ่นชายดื่มเบียร์ผสมเหล้าขาว เพราะต้องการเมา วัยรุ่นหญิงดื่มเบียร์ ดื่มเพื่อเอาใจลูกค้าไม่ต้องการเมา ใช้เทคนิคอมแล้วแอบบ้วนทิ้งเป็นครั้งๆ กับแกล้มคือ ส้มตำ และขนมขบเคี้ยว จำนวนเครื่องดื่ม เบียร์ 3 ขวด และ เหล้าเถื่อน 1 ขวด เวลาที่ใช้ ประมาณ 4 ชั่วโมง การเริ่มดื่มฯ ของหญิงวัยรุ่น

วงรดน้ำดำหัว 1 วง 15 เมย 43 การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ ปัจจัยที่รวมกลุ่ม ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ วงรดน้ำดำหัว 1 วง 15 เมย 43 ปัจจัยที่รวมกลุ่ม การรดน้ำดำหัว เพื่อขอขมา และขอพรจาก ผู้สูงอายุ สถานที่ บ้านของผู้ที่ไปรดน้ำดำหัว วัยรุ่นชาย 1 คน วัยรุ่นหญิง 5 คน วัยกลางคนชาย 1 คน ผู้สูงอายุชาย 1 คน หญิง 2 คน บุคคลที่ร่วมดื่ม บริบทการดื่ม หลังรับพร ลูกสาวเจ้าของบ้านนำขนมเทียน แหนม แคบหมู พร้อมกับสาโทมารับรองแขก เทแจกให้ทุกคน คนที่ไม่ดื่มสาโทจะให้ดื่มเบียร์แทน จำนวนเครื่องดื่ม ผู้สูงอายุ 3 คนดื่มสาโทคนละ 1 แก้ว ผู้มารดน้ำดำหัวดื่มคนละ 2 แก้ว เวลาที่ใช้ ประมาณ 1 ชั่วโมง

วงสังสรรค์ 2 วง 18 เม .ย 43 วงเริ่มต้น การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ วงสังสรรค์ 2 วง 18 เม .ย 43 วงเริ่มต้น ปัจจัยที่รวมกลุ่ม ได้ปลามาจากการสูบน้ำออกจากบ่อเลี้ยงปลา ภรรยาจึงนำปลามาต้มเป็นอาหารเลี้ยงสังสรรค์ สถานที่ บ้านเจ้าของบ่อปลา บุคคลที่ร่วมดื่ม สามี และเพื่อนบ้านชาย 3 คน ภรรยา และเพื่อนบ้านหญิง 2 คน บริบทการดื่ม ดื่มเหล้าเถื่อน เทใส่แก้วใบเล็กๆ ดื่มเพียว ยกดื่มทีเดียวหมดแก้ว ใช้แก้วใบเดียวเวียนรอบวง ขณะดื่มมีการพูดคุยกัน ต่อมาภรรยาและเพื่อนย้ายไปตั้งวงที่บ้านประธานแม่บ้าน คงเหลือสามีและเพื่อนบ้านชายนั่งดื่มต่อ เครื่องดื่ม เหล้าเถื่อน และสาโท ไม่ทราบจำนวน ไม่ทราบระยะเวลาการตั้งวงที่แน่นอน

การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ วงแยกหญิงล้วน ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การศึกษาวงสุราเชิงคุณภาพ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ วงแยกหญิงล้วน ปัจจัยการรวมกลุ่ม การย้ายวงของกลุ่มแม่บ้าน มารวมกลุ่มสังสรรค์กับประธานแม่บ้าน สถานที่ตั้งวง บ้านของประธานแม่บ้าน ผู้ร่วมดื่ม ประธานแม่บ้าน และกลุ่มแม่บ้านอายุระหว่าง 25-50 ปี จำนวน 11 คน บริบทการดื่ม ดื่มสาโทผสมเหล้าเถื่อนบรรจุในกระติกใส่น้ำใบใหญ่ ผสมเหล้าเถื่อนเพื่อให้เมาเร็วขึ้น ใช้แก้วเล็กใบเดียวเวียนรอบวง ดื่ม,พูดคุยหยอกล้อ และเปิดเพลงลูกทุ่ง ถ้าเพลงถูกใจจะร้องตาม ถ้าจังหวะถูกใจก็จะลุกมาเต้น จำนวนเครื่องดื่ม และเวลาที่ใช้ในการดื่ม ไม่ทราบชัดเจน

การเฝ้าระวังจากระบบรายงานปกติ ไม่สามารถชี้ให้เห็นผลกระทบที่แท้จริง ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค การเฝ้าระวังผลกระทบ เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ วันที่ 17 – 20 เมษายน พ.ศ.2543 สถานีอนามัย โรงพยาบาล สถานีตำรวจ 1 ราย ไม่มี ไม่มี วันที่ 4 เมษายน – 5 พฤษภาคม พ.ศ.2544 การเฝ้าระวังโดยชุมชน สถานีตำรวจ โรงพยาบาล สถานีอนามัย ไม่มี มี 6กรณี /9 คน การเฝ้าระวังจากระบบรายงานปกติ ไม่สามารถชี้ให้เห็นผลกระทบที่แท้จริง จากการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

สรุป ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ประเพณี และวัฒนธรรมชุมชน ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค สรุป เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ ชุมชนชนบทมีแหล่งผลิต และจำหน่ายสุราอยู่ในพื้นที่โดยสมบูรณ์ ประชากรในชุมชนชนบทมีทั้งที่รับรู้ว่าเป็นผู้ดื่ม และไม่ดื่มสุรา การดื่มสุราในชุมชนชนบทมีทั้งที่ดื่มเล็กน้อย จนถึงติดสุรา ผลจากการดื่มมีทั้งส่วนดี และส่วนเสีย ผลดี ผลเสีย คลายกล้ามเนื้อ คลายเครียด เข้าสังคมง่าย,เพื่อนฝูงเยอะ การร่วมทำกิจกรรมกลุ่ม เจ็บป่วย,อุบัติเหตุ,เอดส์ การทะเลาะวิวาท ก่อเหตุรำคาญในชุมชน ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ประเพณี และวัฒนธรรมชุมชน เป็นรากฐานของการผลิต จำหน่าย และ การดื่มสุราในชุมชนชนบท

ขอบคุณค่ะ ขอบคุณค่ะ ดอยผาจิ อำเภอปง จังหวัดพะเยา ปัจจัย และพฤติกรรมบริโภค เครื่องดิ่มแอลกอฮอล์ ขอบคุณค่ะ ขอบคุณค่ะ ดอยผาจิ อำเภอปง จังหวัดพะเยา