กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน ไปสู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน ไปสู่การปฏิบัติ กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน ไปสู่การปฏิบัติ

ความหมายของชุมชน ชุมชน หมายถึง ถิ่นฐานที่อยู่ ของกลุ่มคน ถิ่นฐานนี้มีพื้นที่อ้างอิงได้ และกลุ่มคนนี้มีการอยู่อาศัยร่วมกัน มีการทำกิจกรรม เรียนรู้ ติดต่อสื่อสาร ร่วมมือและพึ่งพา อาศัยกัน มีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาประจำถิ่น มีจิตวิญญาณและ ความผูกพันอยู่กับ พื้นที่แห่งนั้นอยู่ภายใต้การปกครองเดียวกัน

แบบจำลองชุมชนที่มีการบริหารจัดการที่ดี การมีส่วนร่วมของประชาชน การวัดผลสำเร็จของชุมชน การทำสิ่ง ต่าง ๆ ให้สำเร็จ

ชุมชนเข้มแข็งหรือไม่ ดูจาก ชุมชนเข้มแข็งหรือไม่ ดูจาก ชุมชนมีอำนาจในการตัดสินใจ/กระทำการต่าง ๆ หรือไม่ ชุมชนมีสิทธิในการตัดสินใจ/กระทำการต่าง ๆ หรือไม่ ชุมชนมีความสามารถในการตัดสินใจ/กระทำการต่าง ๆ เพียงใด

ทำให้ชุมชนเป็นที่น่าไว้วางใจให้มากที่สุด แล้วปล่อยให้ชุมชนทำงาน ทำให้ชุมชนเป็นที่น่าไว้วางใจให้มากที่สุด แล้วปล่อยให้ชุมชนทำงาน

แนวทางการจัดทำแผนชุมชน วิเคราะห์ วาง แผน ดำเนิน การ ติดตามผล ประเมิน ผล กระบวนการ ทำแผน

แนวทางการจัดทำแผนชุมชน แผนพึ่งตนเอง แผนความร่วมมือ แผนสนับสนุน ประเภทของแผน

แนวทางการจัดทำแผนชุมชน ชุมชนสามารถทำอะไรด้วยตนเอง และเพื่อตนเองได้บ้าง โดยไม่ต้องอาศัยภายนอก ชุมชนสามารถทำอะไรด้วยตนเอง และเพื่อตนเองได้บ้าง ถ้าได้รับความช่วยเหลือจากภายนอก ชุมชนไม่สามารถทำอะไรที่มีความสำคัญต่อความอยู่ดีมีสุขและบรรลุทิศทางการพัฒนาของชุมชนด้วยตนเองและเพื่อตนเองได้บ้าง ประเด็นที่เป็นแผน

แนวคิด “ความเชื่อพื้นฐาน” การทำให้ชุมชน (หมู่บ้าน) เข้มแข็ง ไม่สามารถทำได้โดยการสร้างจากบุคคลภายนอก หรือทำโดยการสอน การฝึกอบรม ชุมชนจะเข้มแข็ง จะมีกระบวนการ (ขั้นตอน) ในการจัดการของชุมชน มีการเรียนรู้ร่วมกัน ความหมายของแผนชุมชน แผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน หรือ กระบวนการเรียนรู้ และการจัดการตนเอง ที่คนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีส่วนร่วม ในการคิด วิเคราะห์ปัญหา ประเมินความพร้อม/ศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน โดยใช้ข้อมูลครัวเรือน ข้อมูลชุมชน จัดทำแผนเพื่อใช้เป็นแนวทางการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนของตนเอง

โดยสรุปแผนชุมชน คือ.... - แผนที่คนในชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันกำหนด เพื่อวางเป้าหมายในการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นของตนเอง โดยใช้ข้อมูลเป็นฐาน - แผนที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนโดยตรง - แผนงานหรือกิจกรรมทางเลือกที่เกี่ยวกับการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาของคน ในชุมชน - กิจกรรมหรือแผนงานที่คนในชุมชนช่วยกันคิด เพื่อทำให้อนาคตของคนในชุมชน เป็นไปอย่างที่หวังไว้

ความสำคัญของการวางแผนพัฒนาหมู่บ้า/ชุมชน 1. ทำให้สมาชิกในหมู่บ้านร่วมกันพัฒนาหมู่บ้าน 2. สำรวจข้อมูลที่มีอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชน ทำให้รู้จุดเด่น จุดด้อย เพื่อนำมาวิเคราะห์ หาสาเหตุ และแนวทางในการแก้ไขปัญหา 3. หมู่บ้าน/ชุมชน รู้ปัญหาของตนเอง และวิธีการแก้ไข 4. เป็นการพัฒนาศักยภาพผู้นำ ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. เป็นการส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย จากประชาชน

เป้าหมายของการจัดทำแผนชุมชน/หมู่บ้าน 1. เพื่อค้นหาศักยภาพของหมู่บ้าน รับทราบความต้องการ เพื่อแก้ไขได้อย่างถูกต้อง 2. เพื่อจัดทำโครงการ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากทุกภาคส่วน ใช้เป็นข้อมูลในการจัดทำแผนทุกระดับ 3. เพื่อปรับเปลี่ยนแนวคิด และแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง นำไปสู่การพึ่งตนเอง 4. เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ก่อให้เกิดความร่วมมือ 5. เพื่อให้เกิดกระบวนการ เรียนรู้ประชาธิปไตย และเกิดความสามัคคีในหมู่บ้าน

ทำแผนชุมชนแล้วได้ประโยชน์ ประโยชน์ 10 ประการ ที่เกิดกับชุมชนอย่างแน่นอน คือ คนในชุมชนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน คนในชุมชนได้เห็นข้อดี ข้อเด่น โอกาส และข้อจำกัดของชุมชน ในการพัฒนาอย่างมีเป้าหมาย คนในชุมชนมีช่องทางในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้อย่างเหมาะสม และครอบคลุม คนในชุมชน สามารถกำหนดกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนได้

5. ทำให้คนในชุมชน สามารถคิด และกล้าที่จะตัดสินใจด้วยตนเองได้ 6 5. ทำให้คนในชุมชน สามารถคิด และกล้าที่จะตัดสินใจด้วยตนเองได้ 6. ชุมชนสามารถวางแผนจัดการกับทรัพยากร หรือทุนในชุมชน ทั้งทุนบุคคล และทุนสังคม ที่มีอยู่ได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพชุมชน 7. คนในชุมชนรับผลประโยชน์ร่วมกัน ได้อย่างทั่วถึง และเท่าเทียม 8. ความร่วมมือกันของคนในชุมชน ก่อให้เกิดทัศนคติที่ดี เอื้ออาทรต่อกันได้ 9. ปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยมที่ดีกับลูกหลาน 10. สามารถหาแนวร่วม ในการทำงาน เพื่อพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นของตนเอง ได้อย่างง่ายดาย

บทบาทของผู้นำชุมชน ในการจัดทำแผนชุมชน 1. สำรวจข้อมูล 2. บูรณาการแผนทุกภาคส่วน 3. ทบทวนแผนตามความต้องการของประชาชน 4. ผ่านการประชาคมหมู่บ้าน/ชุมชน 5. จัดส่งแผนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กระบวนการบูรณาการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน เตรียมการจัดประชุมประชาคม 1.1 คณะกรรมการชุมชน กำหนดเวลาสถานที่ ประชุม 1.2 แจ้งส่วนที่เกี่ยวข้องรับทราบ เพื่อนำแผนงาน/โครงการเข้าร่วมบูรณาการ 1.3 แจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมสนับสนุน 1.4 แจ้งอำเภอเพื่อจัดทีมพี่เลี้ยง (ทีมตำบล) 1.5 แจ้งผู้แทนครัวเรือนเข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจำนวครัวเรือนในหมู่บ้าน

2. การประชุมประชาคม 2.1 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม 2.1 ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม 2.2. ดำเนินการประชุมทบทวนปรับปรุงแผนงาน 2.3. จัดหมวดหมู่ข้อมูล/โครงการ/แผนงาน 2.4 วิเคราะห์ข้อมูล จัดลำดับความสำคัญ 2.5 เสนอแนวทางแก้ไข ทิศทางการพัฒนาหมู่บ้าน 2.6 ตรวจสอบเอกสารสรุปการประชุมเบี้งต้น ลงมติที่ประชุม 2.7 บันทึกผลการประชุมประชาคม

3. การจัดทำแผนพัฒนาชุมชน ผู้นำ รวบรวมข้อมูลการประชุมประชาคม ไปจัดทำแผนชุมชนเป็นรูปเล่ม และเสนอที่ประชุม ให้ความเห็นชอบและรับรอง 4. การให้ความเห็นชอบ และแผนชุมชน 4.1 ประชุมเพื่อพิจารณาร่างแผนชุมชน ให้เป็นไปตามมติเพื่อรับรอง หากไม่เป็นไปตามมติ ให้ปรับปรุงแก้ไข เพื่อนำเข้าที่ประชุมพิจารณาอีกครั้ง 4.2 เมื่อที่ประชุม มีมติรับรองแผนพัฒนาชุมชนแล้ว ให้ประธานชุมชน ลงนามรับรอง

5. ประสานการใช้แผนพัฒนาชุมชน 5.1 จัดเก็บแผนพัฒนาชุมชนไว้ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชน 5.2 จัดส่งแบบให้เทศบาล เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น 5.3 จัดส่งให้องค์กรเอกชน หรือที่เกี่ยวข้อง 6. การทบทวนปรับปรุงแผนชุมชน ให้มีการทบทวนปรับปรุงแผนฯ ตามข้อ 1 – 5 อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อให้แผนเป็นปัจจุบัน สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และแก้ไขปัญหาของชุมชน ตามสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

7. การตรวจสอบ และติดตามการดำเนินงานตามแผนพัฒนาหมู่บ้าน 7.1 ตรวจสอบการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ให้โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ 7.2 ตรวจสอบผลกระทบที่เกิดขึ้นกับแผนงาน/โครงการ เพื่อร่วมกันแก้ไข 7.3 ติดตามเร่งรัด การดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7.4 ตรวจสอบแผนงาน/โครงการ ที่ดำเนินการแล้วเสร็จ ให้ที่ประชุมประชาคมรับทราบ และเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ทราบทั่วกัน

แผนพัฒนาหมู่บ้าน ปี พ.ศ……….. (ตัวอย่างหมู่บ้านปกติ) ปี พ.ศ……….. บ้าน............................................... หมู่ที่..............ตำบล................................................. อำเภอ......................................... จังหวัด....................... คณะกรรมการหมู่บ้าน ได้ประชุมพิจารณาแผนพัฒนาหมู่บ้าน มีมติเห็นชอบและรับรองแล้ว เมื่อวันที่.........เดือน..............................พ.ศ. .......... (ลงชื่อ) (.................................................) ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน

คำนำ

สารบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล หน้า ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล 2.1 จุดอ่อนของหมู่บ้าน 2.2 จุดแข็งของหมู่บ้าน 2.3 ทิศทางการพัฒนาหมู่บ้านในอนาคต 2.4 วิสัยทัศน์หมู่บ้าน ส่วนที่ 3 การจัดลำดับความต้องการ/โครงการ 3.1 แผนความต้องการในการพัฒนาหมู่บ้าน (รวมทุกด้านเรียงตามลำดับความสำคัญ) 3.2 แผนความต้องการในการพัฒนาหมู่บ้าน (แยกตามความต้องการของแต่ละด้าน) ส่วนที่ 4 การทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้าน

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน แผนพัฒนาหมู่บ้าน บ้าน.......................................หมู่ที่............ตำบล............................. อำเภอ..................................จังหวัด............................... ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน 1. พื้นที่.......................................ตารางกิโลเมตร 2. อธิบายภูมิประเทศพอสังเขป .............................................................................................................................................................................................................. 3. จำนวนประชากร รวมทั้งสิ้น..................คน แยกเป็น ชาย...................คน หญิง...................คน 3.1 ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป) รวมทั้งสิ้น..................คน แยกเป็น ชาย...............คน หญิง..................คน 3.2 คนพิการ รวมทั้งสิ้น..................คน แยกเป็น ชาย.............คน หญิง............คน 4. จำนวนครัวเรือน ...................ครัวเรือน 5. การประกอบอาชีพ  เกษตรกรรม (ทำไร่/ทำนา/ทำสวน/เลี้ยงสัตว์)..........................คน  ประมง........................คน ค้าขาย........................คน ทำงานประจำ/รับราชการ........................คน ทำงานประจำเอกชน/บริษัท/โรงงาน..................................คน อื่น ๆ ..................................คน 6. ว่างงาน จำนวน..........................คน

7. หมู่บ้าน มีรายได้................................บาท/ปี รายจ่าย........................บาท/ปี มีหนี้สิน..........................................บาท 8. จำนวนกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ มีจำนวน............กลุ่ม ดังนี้ 8.1).................................................................... 8.2).................................................................... 8.3).................................................................... 8.4).................................................................... 8.5).................................................................... 9. กองทุนในหมู่บ้าน มีจำนวน....................กองทุน ดังนี้ 9.1) ชื่อกองทุน..................................................มีงบประมาณ................................บาท 9.2) ชื่อกองทุน..................................................มีงบประมาณ................................บาท 9.3) ชื่อกองทุน..................................................มีงบประมาณ................................บาท 9.4) ชื่อกองทุน..................................................มีงบประมาณ................................บาท 9.5) ชื่อกองทุน..................................................มีงบประมาณ................................บาท 10.แผนที่หมู่บ้าน พอสังเขป (ตัวอย่าง แนบท้าย) ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้าน 1.จุดอ่อนของหมู่บ้าน (ปัญหา/อุปสรรค) •ด้านเศรษฐกิจ ................................................................................................................................................................. •ด้านสังคม ........................................................................................................................................................................

2.จุดแข็งของหมู่บ้าน (ศักยภาพ=ความสามารถของหมู่บ้าน) •ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................... •ด้านความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย ..................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................... •ด้านการบริหารจัดการ ................................................................................................................................................................ 2.จุดแข็งของหมู่บ้าน (ศักยภาพ=ความสามารถของหมู่บ้าน) •ด้านเศรษฐกิจ ............................................................................................................................................................................... •ด้านสังคม .................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................... •ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม .................................................................................................................................... •ด้านความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย ......................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... •ด้านการบริหารจัดการ...............................................................................................................................................................

3. ทิศทางการพัฒนาหมู่บ้านในอนาคต (วิเคราะห์จากความรู้ ความสามารถ หรือสิ่งที่มีอยู่ของหมู่บ้าน เพื่อกำหนดสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นในอนาคต เช่น การพัฒนาเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว/หมู่บ้านมีรายได้เพิ่มขึ้น/หมู่บ้านมีความสงบเรียบร้อย ปลอดจากสิ่งเสพติด เป็นต้น) …………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………… ส่วนที่ 3 การจัดลำดับความต้องการ/โครงการ ของหมู่บ้าน (ตัวอย่าง แนบท้าย) ส่วนที่ 4 บันทึกการทบทวนแผนพัฒนาหมู่บ้าน

แผนความต้องการในการพัฒนาหมู่บ้าน บ้าน....... แนวทาง/โครงการ/แผนพัฒนาหมู่บ้าน รวมทุกด้านเรียงตามลำดับความสำคัญ ประเภทของแผนด้านต่าง ๆ (ระบุ ) หมายเหตุ ลำดับที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ เป้าหมาย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย ด้านบริหารจัดการ ให้ระบุการดำเนินงาน เช่น หมู่บ้านดำเนินการเอง/ดำเนินการร่วมกับหน่วยงาน.../ขอรับการสนับสนุน/ส่งต่อให้หน่วยงาน... 1 2 3 4

แผนความต้องการในการพัฒนาหมู่บ้าน บ้าน....... แนวทาง/โครงการ/แผนพัฒนาหมู่บ้าน ด้านเศรษฐกิจ ลำดับที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ เป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินการ รายละเอียด/วิธีการ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8

แผนความต้องการในการพัฒนาหมู่บ้าน บ้าน....... แนวทาง/โครงการ/แผนพัฒนาหมู่บ้าน ด้านสังคม ลำดับที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ เป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินการ รายละเอียด/วิธีการ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8

แผนความต้องการในการพัฒนาหมู่บ้าน บ้าน....... แนวทาง/โครงการ/แผนพัฒนาหมู่บ้าน ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลำดับที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ เป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินการ รายละเอียด/วิธีการ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8

แผนความต้องการในการพัฒนาหมู่บ้าน บ้าน....... แนวทาง/โครงการ/แผนพัฒนาหมู่บ้าน ด้านความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย ลำดับที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ เป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินการ รายละเอียด/วิธีการ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8

แผนความต้องการในการพัฒนาหมู่บ้าน บ้าน....... แนวทาง/โครงการ/แผนพัฒนาหมู่บ้าน ด้านบริหารจัดการ ลำดับที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ เป้าหมาย/ระยะเวลาดำเนินการ รายละเอียด/วิธีการ หมายเหตุ 1 2 3 4 5 6 7 8

การทบทวนการพัฒนาหมู่บ้าน วัน/เดือน/ปี ทบทวนครั้งที่ มติที่ประชุม จำนวนผู้เข้าประชุม หมายเหตุ

ตัวอย่างบันทึกรายงานการประชุมประชาคมเพื่อบูรณาการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน บ้าน...........หมู่ที่....ตำบล............... อำเภอ.................จังหวัด............ วันที่......เดือน......................พ.ศ.......... ณ.................................... ***************** เริ่มประชุมเวลา....................น. 1. เมื่อประชาชนมาพร้อมแล้ว ผู้ใหญ่บ้าน/ประธานกรรมการหมู่บ้าน/ประธานคณะกรรมการกลางหมู่บ้าน อพป. ทำหน้าที่ประธานที่ประชุม กล่าวเปิดการประชุมประชาคม และสรุปข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน 1.1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน 1) ครัวเรือนทั้งหมดในหมู่บ้าน จำนวน...................ครัวเรือน 2) ผู้แทนครัวเรือนที่เข้าร่วมประชุม จำนวน....................คน คิดเป็นร้อยละ 2. ประธานที่ประชุม ขอให้ที่ประชุมพิจารณาทบทวน ปรับปรุงข้อมูล/ความต้องการของประชาชน โดยขอให้ทุกภาคส่วน คณะทำงานทุกด้านของคณะกรรมการหมู่บ้าน/ คณะกรรมการกลางหมู่บ้าน อพป. รวบรวมแผนฯ ทั้งหมดที่มีในหมู่บ้าน และร่วมกันเสนอความต้องการ/โครงการเพิ่มเติม เพื่อให้ที่ประชุมประชาคม จัดหมวดหมู่ข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาที่ตกผลึกข้อมูล จัดลำดับความสำคัญ เสนอแนะแนวทางแก้ไข ทิศทางการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ในอนาคต

3. ที่ประชุมฯ ได้วิเคราะห์ข้อมูล และจัดลำดับความต้องการ/โครงการของแผนพัฒนาออกเป็น 1) ความต้องการ/โครงการด้านเศรษฐกิจ (1) โครงการ...................................................................................................................................งบประมาณ.........................................บาท (2) โครงการ...................................................................................................................................งบประมาณ.........................................บาท (3) โครงการ...................................................................................................................................งบประมาณ.........................................บาท (4) โครงการ...................................................................................................................................งบประมาณ.........................................บาท 2) ความต้องการ/โครงการด้านสังคม 3) ความต้องการ/โครงการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4) ความต้องการ/โครงการด้านความมั่นคงและความสงบเรียบร้อย

5) ความต้องการ/โครงการด้านเศรษฐกิจ (1) โครงการ...................................................................................................................................งบประมาณ.........................................บาท (2) โครงการ...................................................................................................................................งบประมาณ.........................................บาท (3) โครงการ...................................................................................................................................งบประมาณ.........................................บาท (4) โครงการ...................................................................................................................................งบประมาณ.........................................บาท 4. ปัญหาที่พบในที่ประชุม (1)............................................................................................................................................................................................ (2)............................................................................................................................................................................................ (3)............................................................................................................................................................................................ 5. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ปิดประชุม เวลา........................................น. (ลงชื่อ)...............................................................ผู้บันทึกรายงานการประชุม (...............................................) โทร.......................................... วันที่..........เดือน............................................พ.ศ................

(ลงชื่อ)...............................................................เลขานุการ กม./คณะกรรมการกลางหมู่บ้าน อพป. (...............................................) โทร.......................................... วันที่..........เดือน............................................พ.ศ................ (ลงชื่อ)...............................................................ตัวแทนผู้เข้าร่วมประชุมฯ (ลงชื่อ)...............................................................ประธาน กม./ประธานคณะกรรมการกลางหมู่บ้าน อพป. วันที่..........เดือน............................................พ.ศ...............

แบบฟอร์มรายชื่อผู้เข้าประชุมประชาคมการบูรณาการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน ชื่อบ้าน.............หมู่ที่.........ตำบล....................... อำเภอ.............จังหวัด................ วันที่........เดือน..........................พ.ศ. 255322 ที่ ชื่อ - สกุล บ้านเลขที่ ลายมือชื่อ หมายเหตุ

แผนที่หมู่บ้านโดยสังเขป

วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำบลบึงยี่โถ “เทศบาลตำบลบึงยี่โถ เมืองน่าอยู่ การศึกษาดี การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ ส่งเสริม.... และแหล่งท่องเที่ยวควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”

จัดทำแผนพัฒนาสามปี ยึดหลัก จัดทำแผนพัฒนาสามปี ยึดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็นศูนย์กลาง เชื่อม โยง คน –สังคม –เศรษฐกิจ - การเมือง

การทบทวนแผน 3 ปี นำโครงการที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ในปี 2550 – 2553 มาทบทวน (เพื่อจัดลำดับความสำคัญ/งบประมาณ/ และเพิ่มเติมโครงการ) ใช้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยพิจารณา 1) เน้นปัญหาและความต้องการของประชาชน จากเวทีประชาคม มาบรรจุไว้ในแผน 3 ปี 2) สนับสนุนให้มีการจัดทำแผนพัฒนาสามปี ร่วมกับชุมชน หรือโครงการที่เกินขีดความสามารถของชุมชนบรรจุไว้ในแผนสามปี

ปัญหาและความต้องการที่จัดทำแผน ปัญหาความต้องการของชุมชน จากข้อมูล กชช.2ค./ จปฐ. ที่ไม่บรรลุเป้าหมาย การพัฒนาเกณฑ์ตัวชี้วัด เมืองน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง 5 ด้าน 1) เมืองปลอดภัย 2) เมืองสะอาด 3) เมืองคุณภาพชีวิต 4) เมืองธรรมาภิบาล 5) เมืองวัฒนธรรม

ภารกิจ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความมั่นคง/จัดการ 2. ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้านสังคม 3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการตรวจสอบ สังคม/ความมั่นคง 4. ด้านการวางแผนส่งเสริมการลงทุน พาณิชย์และการค้า เศรษฐกิจ 5. ด้านการบริหารจัดการ และการอนรักษ์ 6. ด้านศิลปวัฒนธรรม ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี สังคม

จบการนำเสนอ