พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ. ศ 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ. ศ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เป็นปีที่ 54 ในรัชกาลปัจจุบัน
สาระสำคัญในพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับฎีกา เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก ลง วันที่ 19 สิงหาคม 2542 วันบังคับใช้ คือวันที่ 20 สิงหาคม 2542 มาตรา 3 บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งอื่นในส่วนที่ ได้บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การ สร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัด สภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต การศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถ พัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือ ของเอกชน ที่มีอำนาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา “สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน “มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่ พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้เป็น หลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การ ประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากร ของสถานศึกษานั้นเอง หรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษา นั้น
“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดย สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงาน ภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา “ผู้สอน” หมายความว่า ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ “ครู” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอน และการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและ เอกชน “คณาจารย์” หมายความว่า บุคลากรซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการ วิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน “ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหาร สถานศึกษาแต่ละแห่ง ทั้งของรัฐและเอกชน
“ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหาร การศึกษานอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทำหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับ การจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศก์ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงาน การศึกษาต่าง ๆ “กระทรวง” หมายความว่า กระทรวงศึกษาธิการ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 5 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และ มีอำนาจออกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้ บังคับได้
หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 6-7 หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 6-7 จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ปลูกจิตสำนึกที่ถูกต้อง การเมือง การปกครอง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ภาคภูมิใจในความเป็นไทย อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
หลักการจัดการศึกษา มาตรา 8 มีดังนี้ การศึกษาตลอดชีวิต พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
การจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา มีเอกภาพด้านนโยบายหลากหลายในการปฏิบัติ กระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและ อปท กำหนดมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ ระดมทรัพยากร และมีส่วนร่วมบุคคล ชุมชนและองค์กรต่างๆ การจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา มาตรา 9
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา สิทธิ เรียนฟรี อย่างน้อย 12 ปี อย่างมีคุณภาพ สิทธิและโอกาสพิเศษ สำหรับผู้มีความบกพร่อง พิการ ทุพพลภาพ ตั้งแต่แรกเกิดหรือบุคคลไม่สามารถพึ่งตนเองได้ จัดรูปแบบการศึกษาที่เหมาะสมกับผู้ที่มีความสามารถพิเศษ
ส่งบุตรหลานหรือบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ มาตรา 11 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษา หน้าที่ ส่งบุตรหลานหรือบุคคลในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
สิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรา 12 รัฐ เอกชน อปท บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น
สิทธิของบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มาตรา 13 สนับสนุนจากรัฐ อบรมเลี้ยงดู การให้การศึกษา เงินอุดหนุน จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแก่บุตรหลาน ลดหย่อยภาษีหรือยกเว้นภาษี ค่าใช้จ่ายในการศึกษา
สิทธิผู้สนับสนุนการจัดการศึกษา มาตรา 14 ความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู เงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี
หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15-21 มี 3รูปแบบ ดังนี้ หมวด 3 ระบบการศึกษา มาตรา 15-21 มี 3รูปแบบ ดังนี้ การศึกษาในระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษานอกระบบ
การศึกษาระดับอุดมศึกษา การศึกษาในระบบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 12 ปี ระดับและประเภทเป็นไปตามกฎหมายกำหนด การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับต่ำกว่าปริญญา ระดับปริญญา
การศึกษาภาคบังคับ มาตรา 17 ให้การศึกษาภาคบังคับ9ปี เด็กมีอายุย่างปีที่ 7 เรียนถึง ย่างปีที่ 16 ยกเว้นสอบได้ชั้นปีที่ 9 การนับอายุ เป็นไปตามกฎกระทรวง
การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในสถานศึกษาดังนี้ มาตรา18 สถานพัฒนาปฐมวัย ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก .. สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรียกชื่ออย่างอื่น โรงเรียน โรงเรียนของรัฐ เอกชน โรงเรียนสังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่น ศูนย์การรียน สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ..ชุมชน.และองค์กรต่างๆเป็นผู้จัด
หมวด 4 แนวการจัดการศึกษามาตรา 22-30 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษามาตรา 22-30 ผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถ พัฒนาตนเองได้ มีความสำคัญที่สุด
แนวทางของการจัดการศึกษาทุกระบบต้องเน้นความสำคัญดังต่อไปนี้ ความรู้ กระบวนการเรียนรู้และบูรณการตามความเหมาะสมตามระดับ คุณธรรม
ความรู้เกี่ยวกับตนเองต้องมีความสัมพันธ์ดังนี้ ชุมชน ชาติ สังคมโลก
ความรู้อะไรบ้าง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬาภูมิปัญญาไทย คณิตศาสตร์และภาษา ความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการในการ แก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน
หน้าที่รัฐในการส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ มีดังนี้ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ หน้าที่รัฐในการส่งเสริมแหล่งเรียนรู้ มีดังนี้ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬา
พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การทดสอบ พัฒนาการ ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม การทดสอบ การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากอะไรบ้าง
หลักสูตรแกนกลาง โดยคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นฐาน การดำรงชีวิต การประกอบอาชี การศึกษาต่อ เพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดี
ลักษณะของหลักสูตรการศึกษาในระดับต่างๆ หลักสูตร ทั้งที่เป็นวิชาการ และวิชาชีพ ต้องมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุล ทั้งด้าน ความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม หลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา นอกจากคุณลักษณะในวรรคหนึ่ง และวรรคสอง แล้วยังมีความมุ่งหมายเฉพาะที่จะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาสังคม
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 33-46 หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 33-46
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ กระทรวงมีอำนาจหน้าที่ -- ส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ กำหนดนโยบาย แผน และมาตรฐาน สนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ส่งเสริม ประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและกีฬา ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษา ราชการอื่นที่มีกฎหมายกำหนดเป็นอำนาจหน้าที่ในกระทรวง
โครงสร้างการจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวง 4 องค์กรหลัก สภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา คณะกรรมการการอุดมสึกษา
การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการศึกษา ให้เสนอต่อคณะรัฐมนตรี ให้คณะกรรมการสภาการศึกษา ประกอบด้วย รัฐมนตรีเป็นประธาน กรรมการโดยตำแหน่งจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ พระภิกษุซึ่งเป็นผู้แทนคณะสงฆ์ ผู้แทนคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย ผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีจานวนไม่น้อยกว่าจำนวน กรรมการประเภทอื่นรวมกัน
หน้าที่ของคณะกรรมการต่างๆ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ ที่สอดคล้องกับความต้องการตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และ มาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการ และ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ำกว่า ปริญญา และสถานศึกษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษาเพื่อทำหน้าที่กำกับและ ส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของ สถานศึกษา ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์หรือผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นในพื้นที่ และ ผู้ทรงคุณวุฒิ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาอาจมี กรรมการเพิ่มขึ้นได้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกำหนด
ส่วนที่ 2การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อปท จัดการศึกษาได้ทุกระดับ ความพร้อมและความต้องการของท้องถิ่น กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการศึกษาเอกชน มีความเป็นอิสระ กำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและมาตรฐานจากรัฐ เป็นนิติบุคคล มีคณะกรรมการบริหาร รัฐสนับสนุนด้านเงินอุดหนุน การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี สิทธิประโยชน์อื่นๆ
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร รายงานต่อต้นสังกัด เผยแพร่ต่อสาธารณชน ประกันคุณภาพภายนอก โดยสำนักงานรับรองและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ) อย่างน้อยหนึ่งครั้งทุกห้าปี
หมวด 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 42-57 กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบประกอบวิชาชีพ กำกับดูแล การปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณ องค์กรวิชาชีพ ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู ต้องมีใบประกอบวิชาชีพผู้บริหาร ผู้บริหาร ครู คณาจารย์ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญา ไม่ต้องมีใบประกอบวิชาชีพครู
ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกููล ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อให้มีรายได้ที่เพียงพอและเหมาะสมกับฐานะทางสังคมและวิชาชีพ ให้มีกองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อจัดสรรเป็นเงินอุดหนุนงานริเริ่มสร้างสรรค์ ผลงานดีเด่น และเป็นรางวัลเชิดชูเกียรติครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา มาตรา 48-62 ระดมทรัพยากรลงทุนการจัดการศึกษา รัฐ เอกชน อปท บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพสถาบันศาสนา สถาบันประกอบการ สถาบันสังคมอื่น
จัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษา จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคล รัฐและเอกชนเท่าเทียมกัน จัดสรรทุนการศึกษา ในรูปกองทุนกู้ยืม จากครอบครัวผู้มีรายได้น้อย จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเป็นพิเศษ
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ ส่งเสริมและสนับสนุนในการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตำรา สื่อ พัฒนาบุคลากรด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยี ส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี หน้าที่ของรัฐ รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริม และประสานการวิจัย การพัฒนา และการใช้เทคโนโลยี ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ