การบริหารงานวิชาการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงานวิชาการ

ขอบข่ายและภารกิจการบริหารงานวิชาการ การบริหารหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ การประกันคุณภาพ การศึกษา การพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของนักเรียน ระเบียบและแนวทางปฏิบัติ ในการบริหารหลักสูตร การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การนำหลักสูตรไปใช้ การตรวจสอบ ทบทวน หลักสูตร การรายงานการตรวจสอบ ทบทวนหลักสูตร การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การวางแผนการ บริหารงานวิชาการ การจัดการเรียน การสอน การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียน การนิเทศการศึกษา วิธีการจัดการเรียนรู้ การพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การแนะแนว การวิจัยในชั้นเรียน การวัดผลประเมินผล หลักการและแนวคิด การประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษา การประกันคุณภาพ ภายนอกสถานศึกษา การพัฒนานักเรียน สู่ความเป็นเลิศ การจัดการศึกษา พิเศษ ร่วมเรียน

การจัดการเรียนการสอน การส่งเสริมและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ การจัดทำแผนการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมพัฒนา ห้องสมุดและห้องปฏิบัติการ การจัดการเรียนการสอน การพัฒนาการเรียน การสอนทุกกลุ่มสาระ การจัดหาสื่อแหล่งเรียนรู้ การส่งเสริมงานวิจัย

การนิเทศการศึกษา (การนิเทศภายใน) สร้างความตระหนัก ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการ วางแผนการนิเทศภายใน ดำเนินการนิเทศภายใน ตามโครงการ ประเมินผลการนิเทศภายใน ผลสรุปไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาต่อไป

การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม การวัดและประเมินผล การวิจัยในชั้นเรียน การสร้างความตระหนัก ส่งเสริมให้ครูผลิต/ การใช้สื่อการเก็บรักษา คณะกรรมการ บริหารหลักสูตร การสร้างความตระหนักให้กับครู การจัดการเรียนรู้ ด้วยวิธีที่หลากหลาย ส่งเสริมให้มีสื่อ/ แหล่งเรียนรู้ ระเบียบการวัดและการประเมินผลชาติและสถานศึกษา การส่งเสริมละพัฒนาครู ในการจัดทำวิจัย ในชั้นเรียน วิธีสอนหลายวิธี จัดสรรงบประมาณ กำหนดระเบียบ และวิธีการวัดและประเมินผล ระดับสถานศึกษา พัฒนาครู/ค้นคว้ารูปแบบการสอน ออกแบบการเรียนรู้ สู่ครูต้นแบบ การนิเทศ ติดตาม ดูแล ช่วยเหลือ การประกวดสื่อ การจัดกิจกรรมการศึกษา แหล่งเรียนรู้ ภายใน และภายนอกสถานศึกษา การรายงาน และการเผยแพร่ หลักการวัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ ไม่จำกัดเวลา/สถานที่ การสร้างเครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือการวัดและประเมินผล การประเมินการใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการ เอกสารและการจัดทำเอกสารการวัดและประเมินผล/คู่มือการประเมินผลระดับโรงเรียน

การวัดและการประเมินผล คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และสาระย่อย/สาระเพิ่มเติม ระเบียบการวัดและประเมินผล ของโรงเรียนที่ปรับแล้ว โดยยึดของหลักสูตรแกนกลาง ระเบียบวิธีการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลาง กำหนดระยะเวลาการวัด การตรวจสอบ/การซ่อมเสริม ประเมินรายภาค/รายปี กำหนดวิธีการวัดและประเมินผล จำแนกเป็นรายวิชา/สาระ/กิจกรรม ปรับพื้นฐาน การจัดทำเกณฑ์/กำหนด วิธีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ (อิงแกนกลาง) เอกสารการวัด และประเมินผล ตามรูปแบบของโรงเรียน ก่อนเรียน สอนซ่อมเสริม ระหว่างเรียน หลังเรียน ประเมินผลรายภาค/รายปี สรุปผลการประเมิน ผู้บริหารโรงเรียนตรวจสอบ/อนุมัติผลการเรียน

การตรวจทบทวนคุณภาพการศึกษา การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน การเตรียมการ การดำเนินการ การเตรียมการ การตรวจทบทวนคุณภาพการศึกษา 1. เตรียมความพร้อมของ บุคลากร - สร้างความตระหนัก - พัฒนาความรู้ และทักษะ 2. แต่งตั้งกรรมการ ที่รับผิดชอบ 1. วางแผนการปฏิบัติงาน (P) - กำหนดเป้าหมายหรือ มาตรฐานการศึกษา - จัดลำดับความสำคัญ ของเป้าหมาย - กำหนดแนวทางการ ดำเนินงาน - กำหนดระยะเวลา - กำหนดงบประมาณ - กำหนดผู้รับผิดชอบ จัดทำรายงานประเมินตนเอง หรือรายงานประจำปี - รวบรวมผลการ ดำเนินงาน และผลการประเมิน - วิเคราะห์ตาม มาตรฐาน - เขียนรายงาน จัดทำรายงานประเมินตนเอง หรือรายงานประจำปี - รวบรวมผลการ ดำเนินงาน และผลการประเมิน - วิเคราะห์ตาม มาตรฐาน - เขียนรายงาน 2. ดำเนินการตามแผน (D) - ส่งเสริมสนับสนุน - จัดสิ่งอำนายความสะดวก - สนับสนุนทรัพยากร - กำกับ ติดตาม - ให้การนิเทศ 3. ตรวจสอบประเมินผล (C) - วางกรอบการประเมิน - จัดหาหรือจัดทำเครื่องมือ - เก็บข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูล - แปลความหมาย - การตรวจปรับปรุงคุณภาพ การประเมิน 4. นำผลประเมินผลมาปรับปรุง (A) - วางกรอบการประเมิน - จัดหาหรือจัดทำเครื่องมือ - เก็บข้อมูล - วิเคราะห์ข้อมูล - แปลความหมาย - การตรวจปรับปรุงคุณภาพ การประเมิน

การพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล คัดกรอง/ค้นหา/คัดแยก กลุ่มความสามารถพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มความต้องการพิเศษ ส่งเสริมความต้องการ พัฒนาเพิ่มศักยภาพ คงสภาพ พัฒนาดีขึ้น จัดการศึกษา ที่เป็นเลิศ จัดการศึกษา เฉพาะกลุ่ม

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 1. สร้างความตระหนักแก่บุคลากร ให้มีความรู้ เห็นความสำคัญ และความจำเป็น 5. กำหนดมาตรฐานและตัวชี้วัด แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 6. จัดทำสาระหลัก 8 กลุ่มสาระ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหา กำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย และคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ 7. สรุป เรียบเรียง การจัดทำหลักสูตร 8. นำหลักสูตรสถานศึกษา ให้คณะกรรมการสถานศึกษารับรอง 4. กำหนดโครงสร้าง สัดส่วนเวลา เป้าหมาย ทิศทาง ของแต่ละกลุ่มสาระ

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การนำหลักสูตรไปใช้ 4. ประเมินผลการใช้หลักสูตร ให้สอดคล้องกับกระบวนการในการจัดทำหลักสูตร 1. ประชุมชี้แจง ให้ครูได้รับทราบ แนวทางการนำหลักสูตรไปใช้ 2. ให้ครูแต่ละกลุ่มสาระ ร่วมกันวิเคราะห์หลักสูตรสู่แผนการจัดการเรียนรู้ 5. สรุปผลการนำหลักสูตรไปใช้ จากแบบประเมิน 3. จัดทำแหนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัย มุ่งคุณภาพ ของผู้เรียนเป็นสำคัญ

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การตรวจสอบทบทวนหลักสูตร ประชุมชี้แจง ให้ครูได้รับทราบ แนวทางการตรวจสอบหลักสูตร คณะกรรมการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาร่วมกัน ตรวจสอบ ทบทวนหลักสูตร อย่างน้อย ปีการศึกษาละ 1 ครั้ง ตามหัวข้อ ดังนี้ วิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตร เป้าหมายและทิศทางของแต่ละกลุ่มสาระ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของแต่ละกลุ่มสาระ รายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ และการส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล สรุปข้อมูล เพื่อเตรียมจัดทำรายงาน การประเมินหลักสูตร

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การรายงานการตรวจสอบทบทวนหลักสูตร 1. รวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึก ผลการประเมิน การใช้หลักสูตรในทุกองค์ประกอบ 2. นำผลจากข้อ 1 ไปจัดกระทำตามขั้นตอน กระบวนการประเมินผลทางสถิติ 3. นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ ให้ผู้เกี่ยวข้อง และสาธารณชนทราบ

การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 1. ผู้บริหารประชุมชี้แจง ให้ครูเห็นความสำคัญ และแนวทางการพัฒนาและการปรับปรุงหลักสูตร 2. คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร นำข้อที่ควรพัฒนา จากการประเมินผล การใช้หลักสูตร มาวางแผนพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร 3. ดำเนินการพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตร 4. สรุปรายงานผลการปรับปรุงหลักสูตร ให้ฝ่ายวิชาการ และผู้บริหารทราบ