โอกาสสุดท้ายทำโรงแรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โอกาสสุดท้ายทำโรงแรม ปลดล็อค โอกาสสุดท้ายทำโรงแรม ให้ถูกกฎหมาย

กฎหมายโรงแรมในประเทศไทย บัณฑูร นริศรางกูร ผอ.ส่วนรักษาความสงบเรียบร้อย 3 โทร 02-3569559

นิยามคำว่า โรงแรม พ.ร.บ.โรงแรม 2478 “โรงแรม” หมายความว่า บรรดาสถานที่ทุกชนิดที่จัดตั้งขึ้นเพื่อรับสินจ้างสำหรับคนเดินทางหรือบุคคลที่ประสงค์จะหาที่อยู่หรือที่พักชั่วคราว พ.ร.บ.โรงแรม 2547 “โรงแรม” หมายความว่า สถานที่พักที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในทางธุรกิจเพื่อให้บริการที่พักชั่วคราวสำหรับคนเดินทางหรือบุคคลอื่นโดยมีค่าตอบแทน ทั้งนี้ไม่รวมถึง

สถานที่พักที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการที่พักชั่วคราว ซึ่งดำเนินการโดยส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือเพื่อการกุศล หรือการศึกษา ทั้งนี้โดยมิใช่เป็นการผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน สถานที่พักที่จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บริการที่พักอาศัยโดยคิดค่าบริการเป็นรายเดือนขึ้นไปเท่านั้น สถานที่พักอื่นใดตามกำหนดในกฎกระทรวง

กำหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ.2551 กฎกระทรวง กำหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ.2551 ให้สถานที่พักที่มีจำนวนห้องพักในอาคารเดียวกันหรือหลายอาคารรวมกันไม่เกินสี่ห้องและมีจำนวนผู้พักรวมกันทั้งหมดไม่เกินยี่สิบคน ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อบริการที่พักชั่วคราวสำหรับคนเดินทางหรือบุคคลอื่นใดโดยมีค่าตอบแทน อันมีลักษณะเป็นการประกอบกิจการเพื่อหารายได้เสริม และได้แจ้งให้นายทะเบียนทราบตามแบบที่รัฐมนตรีกำหนด ไม่เป็นโรงแรมตาม (3) ของบทนิยามคำว่า “โรงแรม”ในมาตรา 4

การนำโรงแรมที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเข้าสู่ระบบกฎหมาย มาตรา 63 พ.ร.บ.โรงแรม พ.ศ.2547 กำหนดให้ 1. ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมโดยไม่ได้รับอนุญาตอยู่ก่อนหรือในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ (ก่อนวันที่หรือในวันที่ 12 พฤศจิกายน 2547) 2. ถ้าประสงค์จะประกอบธุรกิจโรงแรมต่อไป ต้องยื่นคำขอรับใบอนุญาตต่อนายทะเบียนโรงแรมภายใน 1 ปี นับวันที่กฎหมายซึ่งออกตาม มาตรา 13 ใช้บังคับ

ถามว่า : กฎกระทรวงตามมาตรา 13 ที่ระบุในมาตรา 63 ของ พ. ร. บ ถามว่า : กฎกระทรวงตามมาตรา 13 ที่ระบุในมาตรา 63 ของ พ.ร.บ.โรงแรม 2547 ใช้บังคับเมื่อใด ตอบว่า : กฎกระทรวงดังกล่าว คือ กฎกระทรวงกำหนดประเภทและหลักเกณฑ์การประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2551 ดังนั้น โรงแรมที่ไม่ได้รับอนุญาตที่ประกอบธุรกิจอยู่ก่อนหรือในวันที่ 12 พ.ย.2547 หากประสงค์จะประกอบธุรกิจโรงแรมต่อไป ให้ยื่นคำขอรับใบอนุญาตต่อ นายทะเบียนภายในวันที่ 14 พ.ค.2551 ถึง 15 พ.ค. 2552

การแก้ไขปัญหา ด้านผังเมือง กระทรวงมหาดไทยได้มีหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครแจ้งให้โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดหรือสำนักผังเมือง ดำเนินการแก้ไขหลักเกณฑ์ของกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองโดยให้อาคารที่ใช้ประกอบกิจการโรงแรมประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 เป็นอาคารที่อยู่อาศัยสามารถก่อสร้างได้ในที่ดินทุกประเภท เพื่อให้โรงแรมประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 สามารถอนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมได้ถูกต้องตามกฎหมาย

ด้านที่จอดรถ กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ประกาศใช้กฎกระทรวง ฉบับที่ 64 (พ.ศ.2555) แก้ไขกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ.2517) เรื่องที่จอดรถ โดยกำหนดให้อาคารโรงแรมที่มีพื้นที่ห้องโถงหรือพื้นที่ที่ใช้เพื่อกิจการพาณิชยกรรมในหลังเดียวกันหรือหลายหลังรวมกัน ตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีอาคารที่จอดรถ (ห้องโถง คือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมหรือประชุม)) กรุงเทพมหานคร ห้องโถงตั้งแต่ 300 ตร.ม. ที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คัน/10 ตร.ม. เศษของ 10 ตร.ม.ให้คิดเป็น 10 ตร.ม. กรุงเทพมหานคร พื้นที่พาณิชยกรรม ที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คัน/20 ตร.ม. เศษของ 20 ตร.ม.ให้คิดเป็น 20 ตร.ม. เทศบาล/ท้องที่ที่ พ.ร.บ.ควบคุม การก่อสร้างอาคาร 2479 บังคับ ห้องโถงตั้งแต่ 300 ตร.ม. ที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คัน/30 ตร.ม. เศษของ 30 ตร.ม.ให้คิดเป็น 30 ตร.ม. เทศบาล/ท้องที่ที่ พ.ร.บ.ควบคุม การก่อสร้างอาคาร 2479 บังคับ พื้นที่พาณิชยกรรม ที่จอดรถไม่น้อยกว่า 1 คัน/40 ตร.ม. เศษของ 40 ตร.ม.ให้คิดเป็น 40 ตร.ม. * กรณีที่โรงแรมที่มีพื้นที่ห้องโถงหรือพื้นที่ที่ใช้เพื่อกิจการพาณิชยกรรมในหลังเดียวกันหรือหลายหลังรวมกันตั้งแต่ 300 ตร.ม.ขึ้นไป หรือโรงแรมที่มีอาคารขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ตามสภาพธรรมชาติไม่สามารถนำรถยนต์เข้าไปใช้ได้ จะไม่จัดให้มีที่จอดรถยนต์ ที่กลับรถยนต์ และทางเข้าออกของรถยนต์ก็ได้ ส่วนที่จอดรถยนต์ต้องจัดให้อยู่ภายในบริเวณของอาคารนั้น ถ้าอยู่นอกอาคารต้องมีทางไปสู่อาคารนั้นไม่เกิน 200 เมตร

ด้านอาคาร กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ร่วมกับกรมการปกครองยกร่างกฎกระทรวงกำหนดลักษณะอาคารประเภทอื่นที่ใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม พ.ศ.2559 ซึ่งได้มีผลประกาศใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2559 เป็นต้นไป เพื่อผ่อนปรนหลักเกณฑ์ในการเปลี่ยนการใช้อาคารประเภทอื่นมาเป็นโรงแรม ประกอบด้วยสาระสำคัญดังนี้ - กฎกระทรวงใช้สำหรับโรงแรมที่ให้บริการห้องพักประเภท 1 (ห้องพักอย่างเดียวไม่เกิน 50 ห้อง) หรือโรงแรมที่ให้บริการห้องพักประเภท 2 (มีห้องพักและห้องอาคารเท่านั้น) ** ห้องอาหารในที่นี้ หมายถึง ห้องสำหรับรับประทานอาหาร หัวครัว หรือห้องประกอบอาหาร - การนำอาคารอื่นมาเปลี่ยนการใช้อาคาร ให้ผู้ประสงค์ขอรับใบอนุญาตเปลี่ยนการใช้อาคาร มายื่นคำขอรับใบอนุญาต ภายใน 5 ปี นับแต่กฎกระทรวงมีผลใช้บังคับ ในขณะที่ การดัดแปลงอาคารก่อนขอรับใบอนุญาตเปลี่ยนการใช้อาคารมายื่นคำขอรับใบอนุญาตหรือแจ้งและดำเนินการตามมาตรา 39 ทวิ เพื่อดัดแปลงอาคารภายใน 2 ปี นับแต่วันที่กฎกระทรวงมีผลบังคับ

ด้านอาคาร ต่อ - วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง เสา คาน ตง พื้น บันได โครงหลังคา และผนังของอาคาร ถ้าอาคารมีความสูงไม่เกินสองชั้น ไม่ต้องทาด้วยวัสดุทนไฟก็ได้ - ช่องทางเดินในอาคารหรือเฉลียงทางเดิน อาคารที่มีความสูงไม่เกินสองชั้น + ห้องพักในอาคารเดียวกันไม่เกิน 10 ห้อง ต้องกว้างไม่น้อยกว่า 1 เมตร อาคารที่มีความสูงเกินสองชั้น + ห้องพักในอาคารเดียวกันไม่เกิน 20 ห้อง ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.20 เมตร ถ้าเกิน 20 ห้อง ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร - บันไดของอาคาร อาคารที่มีความสูงไม่ถึงสี่ชั้น ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 0.09 เมตร และระยะห่าง ตามแนวทางเดิน ไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุดบนชั้นนั้น อาคารที่มีความสูงตั้งแต่สี่ชั้นขึ้นไป ต้องมีผนังหรือประตูทาด้วยวัสดุทนไฟที่สามารถ ปิดกั้นมิให้มีเปลวไฟหรือควันเมื่อเกิดเพลิงไหม้เข้าไปในบริเวณช่องบันได ทั้งนี้ ผนัง หรือประตูดังกล่าวต้องสามารถทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 30 นาที - ที่ว่างอาคาร ต้องมีไม่น้อยกว่า 10 ใน 100 ส่วนของพื้นที่ชั้นใดชั้นหนึ่งที่มากที่สุดของอาคาร

ด้านอาคาร ต่อ - หน่วยบรรทุกจรสาหรับส่วนต่างๆ อาคารมีความสูงไม่เกินสองชั้น ให้คานวณโดยเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร อาคารมีความสูงเกินสองชั้น ให้เป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับอื่นที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร เว้นแต่บันได และช่องทางเดินของอาคารที่เปลี่ยนการใช้มาจากห้องแถวหรือตึกแถว หน่วยน้าหนักบรรทุกจรต้องไม่ต่ากว่า 200 กิโลกรัมต่อตารางเมตร - อุปกรณ์ดับเพลิง อาคารมีความสูงไม่เกินสองชั้น ต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือหรือเครื่องดับเพลิงยกหิ้ว ตามประเภท ขนาด และสมรรถนะตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง ไม่น้อยกว่า ชั้นละ 1 เครื่อง อาคารมีความสูงเกินสองชั้น ให้มีระบบความปลอดภัยเกี่ยวกับอัคคีภัยตามที่กาหนดใน กฎกระทรวงฉบับอื่นที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร

ด้านอาคาร ต่อ การนำอาคารประเภทอื่นมาใช้ประกอบธุรกิจโรงแรม ที่มีอยู่ก่อนวันที่กฎกระทรวงนี้มีผลใช้บังคับ ให้ใช้ข้อกำหนดเกี่ยวกับแนวอาคาร ระยะดิ่งของอาคาร ระยะหรือระดับระหว่างอาคาร หรือเขตที่ดินของผู้อื่น หรือระหว่างอาคารกับถนน ตรอก ซอย ทางเท้า ทาง หรือที่สาธารณะ ตามกฎหมายในขณะที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารนั้น * จากสภาพการณ์ในปัจจุบันที่มีโรงแรมที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจโรงแรมโดยถูกต้องตามกฎหมายกว่า 10,000 แห่ง ทั่วประเทศ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมในระยะเวลา 6 ปี กว่า 7,000 แห่ง คาดว่าการบังคับใช้กฎกระทรวงดังกล่าวจะทำให้มีโรงแรมที่สามารถนามาขออนุญาตประกอบธุรกิจโรงแรมได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 หรือกว่า 5,000 แห่ง ในระยะเวลา 5 ปีนี

จากสำนักการสอบสวนและนิติการ ขอขอบคุณ จากสำนักการสอบสวนและนิติการ กรมการปกครอง