Education Quality Assurance. 2 Education Quality Assurance?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Graduate of Chiangrai University
Advertisements

IQA network Why and How to ?
IQA network Why and How to ?
ASEAN University Network - Quality Assurance
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
Why QA ? 1 ทันตะ มพ. USA (QE) Nokia Samsung EU Japan (QE) (QE) Olympia
Mastery Altruism Harmony Integrity Determination Originality Leadership Mastery Altruism Harmony Integrity Determination Originality Leadership Mastery.
กระบวนการและเทคนิค การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ขั้นที่ 1 ออกแบบ โครงสร้างการ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2 ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รายบุคคล (Performance Management.
สาระสำคัญแผนยุทธศาสตร์ 20 ปี (พ.ศ ) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การบรรยาย เรื่อง “นโยบายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติ” โดย นางวราภรณ์ สีหนาท วันที่
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตสุขภาพที่ 10
Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
ประสบการณ์การดำเนินงาน ตามแนวทาง AUN-QA ของมหาวิทยาลัยนเรศวร
ระดับหลักสูตร ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล มีนาคม 2561.
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง
แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วัลยา ธเนศพงศ์ธรรม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
นโยบายด้านกิจการนักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การบริหารเชิงกลยุทธ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
Advanced Topics on Total Quality Management
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
Roadmap AUNQA หลักสูตร
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
สำหรับผู้บริหาร และอาจารย์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 การประกันคุณภาพในศูนย์สารสนเทศ
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
รายงานการประเมินตนเอง
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
รายงานสรุปผลการพัฒนา
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระดับสถาบัน ผศ.ดร.พนมขวัญ ริยะมงคล มีนาคม 2561.
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
วาระประชุมฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ ประจำเดือน มีนาคม 2562
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Education Quality Assurance

2 Education Quality Assurance?

3

5 Quality Assurance?

ระบบประกันคุณภาพ CUPT QA 3 พระจอม

10

11

12 CUPT QA 3 พระจอม ระดับคณะ/สถาบัน บริบทองค์กร 14 ตัวบ่งชี้หลัก8 ตัวบ่งชี้เลือก ระดับ หลักสูตร องค์ 1 การกำกับ มาตรฐาน องค์ 2 AUN-QA

องค์ 1 การกำกับมาตรฐาน (12 ข้อย่อย) minimum requirement ตามกฎหมาย

ทำ มคอ 3-7 ตามรูปแบบที่เคยจัดทำในปีก่อนๆ (ตามประกาศฯ มคอ และ 2554) หรือใช้ระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ของแต่ละสถาบัน จัดทำ SAR ของระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA เพียงฉบับเดียว

องค์ 2 AUN-QA ระดับหลักสูตร # หมายเลขเกณฑ์ AUN-QA ระดับหลักสูตร

16 UCE GUIDE TO WRITING LEARNING OUTCOMES Bloom’s Taxonomy แนวคิดเกี่ยวกับ Learning Outcome ที่ AUN-QA ใช้

องค์ประกอบรายงาน ระดับคณะ/สถาบัน 17 บริบทของคณะ/สถาบัน เอกลักษณ์ของคณะ/สถาบัน และอัตลักษณ์ของ นิสิต/นักศึกษา Organizational Profile ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาหลักที่บูรณาการเกณฑ์ IQA และ EQA จาก สกอ และ สมศ วิธีการประเมินใช้รูปแบบเดียว ลดความซ้ำซ้อน/ สับสน 14 Core Indicators 3 พระจอมฯ ได้เลือก ตบช เลือกนี้ตาม ความสำคัญหรือความท้าทาย เพื่อกระตุ้นให้เกิด การพัฒนา เป็นการเตรียมสถาบันสมาชิกที่จะพัฒนาตนเอง ไปสู่การใช้เกณฑ์ EdPEx 8 Selective Indicators

Concept Excellence Improve ment Bench marking ControlMonitoring 18

19

20 องค์ประกอบเกณฑ์ CUPT QA ระดับคณะ/สถาบัน องค์ประกอบการประกันคุณภาพ ของ สมศ. โครงร่างองค์การ (Organization Profile)6.อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ ตัวบ่งชี้หลักระดับคณะและสถาบัน C.1 อัตราการสำเร็จการศึกษาของนิสิตนักศึกษา C.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี C.3 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ C.4 ผู้เรียนระดับบัณฑิตศึกษามีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ 1.คุณภาพศิษย์ C.5 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก C.6 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ C.7 ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย C.8 อาจารย์ได้รับการพัฒนา 2.คุณภาพครู/อาจารย์ C.9 ร้อยละของหลักสูตรในคณะที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร C.10 บทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย C.10.1 บทบาทและหน้าที่ของสภามหาวิทยาลัย/กรรมการประจำคณะ C.10.2 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน C.10.3 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณบดี C.11 บุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนา C.12. ความพึงพอใจของนักศึกษา 3.การบริหารและธรรมาภิบาล ของสถานศึกษา C.13 การบริการวิชาการแก่สังคมของคณะและสถาบัน4.ความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม 7. มาตรการส่งเสริม C.14 การส่งเสริมสนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม5.การทำนุบำรุงศิลปะและ วัฒนธรรม

21 ตัวบ่งชี้เลือกระดับคณะและสถาบัน (CUPT QA สามพระจอม) องค์ประกอบ ของ สมศ. S.1 ระยะเวลาของการได้งานทำ1.คุณภาพศิษย์ S.2 ความพึงพอใจของอาจารย์และบุคลากร2.คุณภาพครู/อาจารย์ S.3 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต และศิษย์เก่า1.คุณภาพศิษย์ S.4 จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์2.คุณภาพครู/อาจารย์ S.5 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ ประจำ 3.การบริหารและธรรมาภิบาลของ สถานศึกษา S.6 Student mobility7.มาตรการส่งเสริม S.7 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของคณะ/ สถาบัน 3.การบริหารและธรรมาภิบาลของ สถานศึกษา S.8 Green University4. ความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม 5. การทำนุบำรุงศิลปะและ วัฒนธรรม 7. มาตรการส่งเสริม มจพ สจล มจธ เลือกดำเนินการร่วมกันใน 8 ตัวบ่งชี้เลือก

22 C.1 C.2C.4, C.7 C.5, C.6 C.11 C.8, C.11 C.12 S.1 S.2, S.3 ความสัมพันธ์ระหว่าง CUPT Indicators ระดับคณะ/สถาบัน กับ AUN-QA ในระดับหลักสูตร

ตัวบ่งชี้ระดับ คณะ/สถาบัน เกณฑ์ AUN ระดับ หลักสูตรที่ เกี่ยวข้อง มีตารางการ รายงานผล ในระดับ หลักสูตร มีการประเมิน คะแนนใน ระดับหลักสูตร นำผลคะแนน ระดับหลักสูตร ไปใช้ในระดับ คณะ/สถาบัน Rubric ระดับ หลักสูตร Rubric ระดับคณะ/ สถาบัน วิธี คำนวณ ตาม CDS C.1 อัตราการ สำเร็จการศึกษา ของนิสิต นักศึกษา AUN.14.1, AUN.14.2 X XXX C.2 ร้อยละของ บัณฑิตปริญญา ตรีที่ได้งานทำ หรือประกอบ อาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี AUN.14.3 XXX Prog C.3 คุณภาพ บัณฑิตตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ XXX Prog C.4 ผู้เรียนระดับ บัณฑิตศึกษามี ผลงานตีพิมพ์ เผยแพร่ AUN.14.4XXX X Prog ตารางแสดงการดำเนินการและความเชื่อมโยงของเกณฑ์ ในระดับหลักสูตร และในระดับคณะ/สถาบัน ดูรายละเอียดทั้งหมดได้ที่ตารางด้านท้ายเล่มคู่มือฯ

C.1 อัตราการสำเร็จการศึกษาของนิสิตนักศึกษา AUN.14 ผลผลิต (Output) เกณฑ์ย่อย 14.1 อัตราการ สอบผ่านเป็นที่น่าพอใจและการลาออกกลางคันอยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ และ เกณฑ์ย่อย 14.2 ระยะเวลาเฉลี่ยของการ สำเร็จการศึกษาเป็นที่น่าพอใจ 24 รหัสแรก เข้า จำนวน รับในรุ่น นั้น จำนวนนิสิตนักศึกษาที่จบ ภายในระยะเวลา จำนวนนิสิตนักศึกษาที่ไม่ศึกษาต่อในปี การศึกษาที่* < 4 ปี4 ปี> 4.5 ปี123 4 เป็นต้น ไป

หมายเหตุ ให้แยกตารางข้อมูลระหว่างนักศึกษาในแต่ละแผนการศึกษา หมายเหตุ: ระยะเวลาสำเร็จการศึกษาของหลักสูตรมหาบัณฑิตเป็นไปตามหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน บัณฑิตศึกษา พ.ศ (ระดับป.โทใช้ระยะเวลาสำเร็จการศึกษาเท่ากับ 5 ปี/ป.เอก 6 ปี) ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก

ไม่มี การ รายงาน ผล มี รายงาน ผล (เป็น ข้อมูล ดิบ ยัง ไม่มีการ วิเคราะ ห์) มีรายงาน ผลและ เป็นไป ตามที่ คาดหวัง (มีการ วิเคราะห์ แล้ว) มีแนวโน้ม ผลการ ดำเนินงาน ที่ดี (วิเคราะห์ trend จาก ตารางการ เก็บข้อมูล ดิบ) มีผลการดำเนินงาน ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ย ระดับ ประเทศใน กลุ่มสาขาวิชา (ค่าเฉลี่ยระดับ ประเทศ ทปอ ขอ ใช้ค่าเฉลี่ยของ มหาวิทยาลัยใน กลุ่ม ทปอ และ ทอ มก) มีผลการ ดำเนินงานที่ เท่าหรือสูงกว่า คู่เทียบใน ระดับชั้นนำ ของประเทศ (ให้เทียบกับ มหาวิทยาลัยที่ อยู่เหนือค่า mean) excellent (world- class or leading practices) (ranking) เกณฑ์การประเมิน ระดับหลักสูตร ระดับคณะ : คะแนนที่ได้ในระดับคณะ = ผลรวมของคะแนนที่ได้ของทุกหลักสูตรในคณะ จำนวนหลักสูตรในคณะทั้งหมด ระดับสถาบัน : คะแนนที่ได้ในระดับสถาบัน = ผลรวมของคะแนนที่ได้ของทุกหลักสูตรในสถาบัน จำนวนหลักสูตรในสถาบันทั้งหมด

27

28 AUN-QA กำหนดให้ เก็บข้อมูลนักศึกษา แยกตามชั้นปีดังนี้

Rubric เกณฑ์การให้คะแนน AUN-QA ระดับหลักสูตร เกณฑ์การประเมิน 7 ระดับ คะแนน ความหมาย คุณภาพและระดับความต้องการในการ พัฒนา 1 ไม่ปรากฏการดำเนินการ (ไม่มี เอกสาร ไม่มีแผน หรือไม่มี หลักฐาน) คุณภาพไม่เพียงพออย่างชัดเจน ต้อง ปรับปรุง แก้ไข หรือพัฒนาโดยเร่งด่วน 2 มีการวางแผนแต่ยังไม่ได้เริ่ม ดำเนินการ คุณภาพไม่เพียงพอ จำเป็นต้องมีการ ปรับปรุง แก้ไข หรือ พัฒนา 3 มีเอกสารแต่ไม่เชื่อมโยงกับการ ปฏิบัติ หรือมีการดำเนินการแต่ยัง ไม่ครบถ้วน คุณภาพไม่เพียงพอ แต่การปรับปรุง แก้ไข หรือ พัฒนาเพียงเล็กน้อยสามารถ ทำให้มีคุณภาพเพียงพอได้ 4 มีเอกสารและหลักฐานการ ดำเนินการตามเกณฑ์ มีคุณภาพของการดำเนินการของ หลักสูตรตามเกณฑ์ 5 มีเอกสารและหลักฐานชัดเจนที่ แสดงถึงการดำเนินการที่มี ประสิทธิภาพดีกว่าเกณฑ์ มีคุณภาพของการดำเนินการของ หลักสูตรดีกว่าเกณฑ์ 6 ตัวอย่างของแนวปฏิบัติที่ดี 7 ดีเยี่ยม เป็นแนวปฏิบัติในระดับโลก หรือแนวปฏิบัติชั้นนำ ดีเยี่ยม เป็นแนวปฏิบัติในระดับโลก หรือแนวปฏิบัติชั้นนำ

สอบทานข้อมูล วิเคราะห์ ประเมินแนวโน้ม ร่วมกำหนด แนวทาง/ เป้าหมาย/ สนับสนุน ทรัพยากร สถาบัน สอบทานข้อมูล และผลการประเมิน คะแนนของ หลักสูตร สรุปคะแนนคณะ ตามสูตร ส่งข้อมูลให้ สถาบัน ร่วมกำหนด แนวทาง/ เป้าหมาย/ สนับสนุน ทรัพยากร คณะ เก็บข้อมูล ประเมินคะแนน จาก rubric ส่งข้อมูลให้คณะ ดำเนินการ/ พัฒนา/ปรับปรุง ภาควิชา แนวทางการดำเนินการในแต่ละระดับ

โครงสร้างเอกสารและรายงานการประเมินตนเอง ในระบบประกันคุณภาพการศึกษา CUPT QA ระดับคณะ/สถาบัน

34 SAR for AUN-QA หลักสู ตร 1 SAR for AUN-QA หลักสู ตร 2 SAR for AUN-QA หลักสู ตร 3 SAR for CUPT คณะ A SAR for CUPT คณะ A SAR for CUPT คณะ B SAR for CUPT คณะ B SAR for CUPT สถาบั น SAR for CUPT สถาบั น OP สถาบัน CUPT จาก คณะ OP คณะ CUPT จาก หลักสูตร องค์ 1 AUN-QA องค์ 1 AUN-QA องค์ 1 AUN-QA OP คณะ CUPT จาก หลักสูตร

Organizational Profile โครงร่างองค์กร ความสำคัญของการเริ่มต้นด้วยโครงร่างองค์กร เป็นจุดเริ่มต้นในการตรวจประเมินด้วยตนเอง (self-assessment) ช่วยระบุสารสนเทศที่สำคัญ (Key information) ที่ขาดหายไป มุ่งเน้นที่ข้อกำหนดและผลลัพธ์ของการดำเนินการที่สำคัญ (Key performance requirements and results) หากสารสนเทศในประเด็นใด ขัดแย้งกัน หรือ มีน้อย หรือ ไม่มี สามารถใช้ ประเด็นเหล่านี้ในการวางแผนปรับปรุง (action planning)

Organizational Profile โครงร่างองค์กร OP ทำให้องค์กรเข้าใจลึกซึ้งเกี่ยวกับปัจจัยภายในและ ภายนอกที่สำคัญ ซึ่งกำหนดสภาพแวดล้อมด้านการดำเนินงาน ปัจจัย ประกอบด้วย พันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม สมรรถนะหลักของ องค์กร สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน ความท้าทายและความได้เปรียบ เชิงกลยุทธ์ (ส่งผลกระทบต่อวิธีการดำเนินการและการตัดสินใจของ องค์กร) OP จะช่วยให้องค์กรเข้าใจวิถีการดำเนินงานได้ดีขึ้น เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จของสถาบัน ทั้งปัจจุบันและอนาคต องค์กรมีความยั่งยืน ทราบความจำเป็น โอกาส และข้อจำกัดที่มีผลต่อระบบการบริหาร จัดการ

37 หลักสูตร ผู้ใช้ บริการวิชาการ ผู้ใช้ นักเรียน บัณฑิต วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดประสงค์..... บุคลากร สินทรัพย์ กฎ ระเบียบ ลูกค้ากลุ่มอื่น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ส่งมอบ โครงสร้างองค์กร คู่ความร่วมมือ ลำดับการแข่งขัน บริบทเชิงกลยุทธ์ การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการ แข่งขัน ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร ก. สภาพด้านการแข่งขัน ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

38 หลักสูตร ผู้ใช้ บริการวิชาการ ผู้ใช้ นักเรียน บัณฑิต วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดประสงค์ วิจัย. บุคลากร สินทรัพย์ กฎ ระเบียบ ลูกค้ากลุ่มอื่น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ส่งมอบ โครงสร้างองค์กร คู่ความร่วมมือ ลำดับการแข่งขัน บริบทเชิงกลยุทธ์ การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร ก. สภาพด้านการแข่งขัน ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ C.1S.1 C.9 C.4 C.5 C.6 C.7... C.8 C.3 C.10.1 C.10.2 C.10.3 C.11 C.12 C.13 C.14 C.2 S.2 S.3 S.4 S.5 S.6 S.7 S.8

P.1 ลักษณะขององค์กร: คุณลักษณะที่สำคัญของคณะ/สถาบันคืออะไร ก.สภาพแวดล้อมขององค์กร (1) หลักสูตรและการบริการ (2) วิสัยทัศน์และพันธกิจ จุดประสงค์ (3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร (4) สินทรัพย์ (5) กฎระเบียบข้อบังคับ ข.บริบทเชิงกลยุทธ์ (1) โครงสร้างองค์กร (2) ผู้เรียน ลูกค้ากลุ่มอื่น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (3) ผู้ส่งมอบและคู่ความร่วมมือ

P.2 สภาวการณ์ขององค์กร: สภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ของคณะ/สถาบันเป็นอย่างไร ก.ด้านการแข่งขัน (1)ลำดับในการแข่งขัน (2)การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน (3)ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ข.บริบทเชิงกลยุทธ์ ค.ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

ระบบการประเมิน

การประเมินระดับหลักสูตร หลักสูตรที่มีกำหนด ตรวจ AUN-QA ตามรอบปี การศึกษา หลักสูตรที่ ไม่มี กำหนด ตรวจ AUN-QA ตามรอบปี การศึกษา  ผลตามองค์ 1  ผลการประเมิน ตนเองตามเกณฑ์ AUN-QA ที่มีข้อมูล ย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี เคยตรวจตาม เกณฑ์ AUN-QA ไม่เคยตรวจ ตามเกณฑ์ AUN-QA ผลตามองค์ 1 ปรับปรุง SAR จัดทำและ เผยแพร่ Program Profile ผลการ พัฒนาและ ปรับปรุงตาม ข้อเสนอแนะ ดำเนินการ ตามเกณฑ์ AUN-QA ส่ง SAR ให้ กรรมการอย่างน้อย 15 วันก่อนการ ประเมิน

หลักสูตรที่มีกำหนดตรวจ AUN- QA ตามรอบปีการศึกษา หลักสูตรที่ ไม่มี กำหนดตรวจ AUN-QA ตามรอบปีการศึกษา ประธาน 1 คน กรรมการอย่างน้อย 1 คน มาจากภายนอกคณะ อย่างน้อยร้อยละ 50 อย่างน้อยหนึ่งคนควรมีคุณวุฒิในสาขาวิชา ที่ตรงหรือใกล้เคียงหรือเกี่ยวข้องกับ สาขาวิชาที่ขอรับการประเมิน กรรมการภายในคณะ แต่ต่าง หลักสูตร ประธานจากภายในสถาบัน แต่ อยู่นอกคณะที่หลักสูตรสังกัด คณะเป็นผู้แต่งตั้ง คณะกรรมการ การประเมินระดับหลักสูตร (กรรมการประเมิน) ถ้าต้องการให้ สกอ เผยแพร่หลักสูตร ต้องมี ผลประเมินจากผู้ประเมินภายนอก 2 ใน 3 ของจำนวนผู้ประเมิน และต้องมีผลประเมิน ในระดับดีต่อเนื่องกัน 2 ปี

หลักสูตรที่มีกำหนดตรวจ AUN-QA สากลตาม รอบปีการศึกษา ระยะเวลาประเมิน 2 1 / 2 วัน หลักสูตรที่ไม่มีกำหนดตรวจ AUN-QA ตามรอบปีการศึกษา Desktop Assessment/ Internal Assessment CDS SAR  Opening Meeting  การนำเสนอผลการดำเนินงาน  การตรวจเอกสาร  การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6 กลุ่ม 1. ผู้บริหาร 2. อาจารย์ 3. เจ้าหน้าที่ 4. นักศึกษา 5. ศิษย์เก่า 6. ผู้ใช้บัณฑิต  การเยี่ยมชมสถานที่  Closing Meeting  รายงานผลภายใน 15 วันหลังจากตรวจ ประเมิน และส่ง CDS ให้ สกอ. ผ่าน ระบบ CHE QA Online การประเมินระดับหลักสูตร (ขั้นตอนการประเมิน) ผลประเมินองค์ 1 ผ่าน เสนอต่อสาธารณชน และ สกอ. ( รวมถึง program profile/SAR และรายชื่อผู้ประเมิน ) ไม่ผ่าน เสนอต่อสาธารณชนเฉพาะ program profile / SAR

การประเมินระดับคณะ/สถาบัน (จัดทำ SAR) OP ตามเกณฑ์ CUPT Indicator ส่ง SAR ให้กรรมการ 15 วันก่อน การประเมิน

การประเมินระดับคณะ/สถาบัน (กรรมการประเมิน) ระดับคณะระดับสถาบัน คณะแต่งตั้ง คณะกรรมก าร ประธานจากภายนอก ดำรงตำแหน่ง รอง คณบดีหรือเทียบเท่าขึ้น ไป ทั้งอดีตและปัจจุบัน ผู้ประเมินอย่างน้อย 3 ท่าน ผู้ประเมินทั้งหมดมาจาก ภายนอกคณะอย่างน้อย ร้อยละ 50 ผู้ประเมินอย่างน้อย 5 ท่าน ผู้ประเมินทั้งหมดมาจาก ภายนอกคณะอย่างน้อย ร้อยละ 50 ประธานจากภายนอก ดำรงตำแหน่ง รอง อธิการบดีขึ้นไป ทั้ง อดีตและปัจจุบัน สถาบัน แต่งตั้ง คณะกรรมก าร

ระดับคณะระดับสถาบัน  Opening Meeting  การนำเสนอผลการดำเนินงาน  การตรวจเอกสาร  การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  การเยี่ยมชมสถานที่  Closing Meeting  รายงานผลภายใน 15 วันหลังจากตรวจ ประเมิน และส่ง CDS ให้ สกอ. ผ่านระบบ CHE QA Online การประเมินระดับคณะ/สถาบัน (ขั้นตอนการประเมิน) ระยะเวลาประเมินไม่น้อย กว่า 2 วัน ระยะเวลาประเมินไม่น้อย กว่า 3 วัน