โครงสร้างสไลด์ แบบและขนาดตัวอักษร สี, พื้นหลัง งานกราฟิก การสะกดการันต์และ ไวยากรณ์ การสรุป, การซักถาม
โครงสร้างของสไลด์ที่ดีจะต้องเน้นแนวคิด “ หนึ่งสไลด์ ต่อหนึ่งความคิด ” มีการสรุปประเด็นหรือสาระสำคัญ โดยอยู่ ภายใต้เกณฑ์ควบคุม 3 ประการ คือ Works สื่อนำเสนอต้องสามารถสื่อ ความหมายได้อย่างรวดเร็ว Organizes มีการจัดลำดับเนื้อหาเป็น ระเบียบดูง่าย ไม่สับสน Attracts ต้องสะดุดตา น่าสนใจ
การเลือกใช้ตัวอักษรอย่างเหมาะสม เลือกใช้รูปแบบตัวอักษรที่มีหัวเพื่อให้อ่านง่าย ไม่ควรใช้ตัวอักษรเกิน 2 แบบในแต่ละ สไลด์ ใช้แบบตัวอักษรมาตรฐาน เช่น Angsana New สำหรับภาษาไทย หรือ Times New Roman สำหรับภาษาอังกฤษ
การเลือกใช้สีตัวอักษรอย่าง เหมาะสม การใช้สีตัวอักษรเพื่อเน้นความ แตกต่าง ไม่ควรใช้สีมากเกินไป ใช้สีตัวอักษรตัดกับพื้นหลัง
สุภาษิตจีนบอกไว้ว่า “ ภาพหนึ่งภาพบอกได้ มากกว่าคำพูดหมื่นคำ ” ควรเปลี่ยนข้อความให้เป็นรูปภาพหรือ รูปแบบอื่นที่น่าสนใจเพื่อช่วยให้เข้าใจ ได้ง่ายขึ้น เช่น แผนภูมิ แผนภาพ ตาราง แสดงสถิติ
พิสูจน์อักษรในสไลด์ การสะกดผิด การใช้คำซ้ำ ประโยคผิดไวยากรณ์ ให้ผู้รู้หรือเจ้าของภาษาตรวจทานสไลด์ให้ ถูกต้องก่อนนำเสนอ
ปิดการนำเสนอด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้ฟัง ซักถาม เชิญชวนให้ผู้ฟังถามเพื่อการขยายความ เข้าใจหรือการแลกเปลี่ยน เลี่ยงการปิดการนำเสนอแบบรวบรัด ปิดการนำเสนอด้วยการเปิดโอกาสให้ผู้ฟัง ซักถาม เชิญชวนให้ผู้ฟังถามเพื่อการขยายความ เข้าใจหรือการแลกเปลี่ยน เลี่ยงการปิดการนำเสนอแบบรวบรัด