รายงานการประเมินตนเอง ๒๕๕๑ สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ๔ สิงหาคม ๒๕๕๒ โดย เสรี ชิโนดม ผู้อำนวยการสำนักคอมพิวเตอร์
หัวข้อการนำเสนอ ภาพรวมการบริหารงานของสำนักคอมพิวเตอร์ ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการ ฯ ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ สรุปผลการประเมินคุณภาพ แนวทางในการพัฒนาสำนักคอมพิวเตอร์
ภาพรวมการบริหารงานของ สำนักคอมพิวเตอร์
วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์ 2551 ◦ เป็นศูนย์กลางและผู้นำในการให้บริการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่ได้มาตรฐานในภาคตะวันออก
วิสัยทัศน์ แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ๒๕๕๒ - ๒๕๕๖ พันธกิจ ประเด็น ยุทธศาสตร์ KPI ICGF Balance Score Card เป็น เครื่องมือในการแปลงยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
vision Mission Strategy
โครงสร้างการบริหาร สำนักคอมพิวเตอร์แบ่งการดำเนินงานออก เป็นดังนี้ 1. สำนักงานเลขานุการ 2. ฝ่ายปฏิบัติการ 3. ฝ่ายวิเคราะห์ระบบและพัฒนาโปรแกรม
แผนภูมิแสดงการบริหารงาน ผู้อำนวยการรองผู้อำนวยการเลขานุการ หัวหน้างาน บริหาร หัวหน้างาน การเงินและพัสดุ ฝ่ายปฏิบัติการ ฝ่ายวิเคราะห์ ระบบและพัฒนา โปรแกรม คณะกรรมการประจำ สำนักคอมพิวเตอร์
ประเภทและจำนวนบุคลากร ฝ่ายข้าราชการ พนักงาน มหาวิทยาลัย ลูกจ้างรวม สำนักงานเลขานุการ๗๖-๑๒ ฝ่ายปฏิบัติการ๒๘- ๑๐ ฝ่ายวิเคราะห์ระบบฯ๔ ๙ -๑๓ โครงการการเรียนการสอน e-learning-๔-๔ โครงการพัฒนา e-Services--๒๒ รวม๑๓๒๖๒๔๑
ประเภทและจำนวนบุคลากร
งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ปีงบประมาณ 2550 งบประมาณแผ่นดิน ◦ 873,900 บาท งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัย ◦ 23,923,500 บาท ปีงบประมาณ 2551 งบประมาณแผ่นดิน ◦ 3,903,800 บาท งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัย ◦ 28,680,300 บาท
วันเวลาที่ให้บริการ
วันและเวลาให้บริการ ภาคต้น/ภาคปลาย ◦ จันทร์-อาทิตย์ เวลา น. ภาคฤดูร้อน ◦ จันทร์-อังคาร เวลา น. ◦ พุธ-อาทิตย์ เวลา น. ปิดภาคการศึกษา ◦ จันทร์-ศุกร์ เวลา น. ◦ เสาร์-อาทิตย์ หยุดบริการ วันหยุดนักขัตฤกษ์ หยุดบริการ
งานบริการของสำนักคอมพิวเตอร์ บริการเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับสนับสนุนการเรียนการสอน บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต บริการเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับงานวิจัย บริการ Remote Access บริการเครือข่ายไร้สาย จัดการและดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลักของมหาวิทยาลัย พัฒนาและดูแลระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร พัฒนาศูนย์จัดเก็บ และบริการข้อมูล(Data Center) เพื่อการบริหารมหาวิทยาลัย บริการการสอนทางไกลด้วยระบบ Video Conference System แบบ สองทาง จัดโครงการประชุม/ สัมมนาทางวิชาการและจัดแสดงนิทรรศการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การบริการเครือข่าย ดำเนินการให้บริการอินเทอร์เน็ต โดยมีการเชื่อมโยง เครือข่ายไปยังภายนอก 2 เส้นทาง ◦ เชื่อมไปยังเครือข่าย UniNet 1 Gbps ◦ เชื่อมไปยัง บริษัท CS-Loginfo 35 Mbps และเชื่อมโยงออก ต่างประเทศ 5 Mbps วิทยาเขตสารสนเทศจันทบุรี ความเร็ว 10 MB วิทยาเขตสารสนเทศสระแก้ว ความเร็ว 10 MB ระบบเครือข่ายอินทราเน็ตสำหรับมหาวิทยาลัย
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยบูรพา (BUUNet)
การบริการเครื่องคอมพิวเตอร์ การให้บริการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการ เรียนการสอนและการใช้อินเทอร์เน็ต สำหรับนิสิตสามารถใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์จาก ส่วนกลางได้ที่ ◦ สำนักคอมพิวเตอร์ จำนวน 190 เครื่อง ◦ อาคารศูนย์กิจกรรมนิสิต ชั้น 2 จำนวน 100 เครื่อง ◦ หอพักนิสิต จำนวน 5 หอ รวม 103 เครื่อง ◦ สำนักหอสมุด ชั้น 6 จำนวน 55 เครื่อง
บริการสืบค้นฐานข้อมูล บริการ Virtual Private Network (VPN) เพื่อการ เชื่อมต่อสำหรับสืบค้นในระบบฐานข้อมูลกลางของ สกอ ใช้ซอฟต์แวร์ Open VPN
การบริการเครือข่ายไร้สาย
การสอนทางไกล มีการเรียนการสอนทางไกลแบบสองทางไปที่วิทยาเขต สารสนเทศ จันทบุรีและวิทยาเขตสารสนเทศ สระแก้ว – Video Conference System (VCS) – ห้องสอนทางไกล 1 ชั้น 5 อาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ – ห้องสอนทางไกล 2 ชั้น 1 อาคารสำนักคอมพิวเตอร์
ระบบ e-Learning : - จำนวนรายวิชาทังหมด 333 รายวิชา - จำนวนผู้ใช้งานทั้งหมด 44,032 คน - ผู้สร้างรายวิชา 830 คน
วิสัยทัศน์ เชื่อมโยง พันธกิจ ครอบคลุมทุกระบบงาน ยุทธศาสตร์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยบูรพาเป็นมหาวิทยาลัย ชั้นนำ จัดการเรียนรู้และการวิจัยที่ได้ มาตรฐานในระดับนานาชาติ เป็นที่ พึ่ง ทางวิชาการแก่สังคม 1. ผลิตบัณฑิตให้มีคุณลักษณะเป็นผู้นำ มี ความสามารถในการแข่งขัน มีคุณธรรม จริยธรรม 2. ส่งเสริมการวิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ และการวิจัยเชิง บูรณาการ ที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม 3. ให้บริการวิชาการที่หลากหลายและ ถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่สังคม 4. สนับสนุนให้มีการวิจัยและกิจกรรมที่ธำรงไว้ซึ่ง ศิลปวัฒนธรรม 5. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ สิ่งแวดล้อม แผนกล ยุทธ์ แผนปฏิ บัติการ โครงกา ร / กิจกรรม /KPI
วิสัยทัศน์ เชื่อมโยง พันธกิจ ครอบคลุมทุกระบบงาน ยุทธศาสตร์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ ระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูล ของมหาวิทยาลัย ทะเบียนนิสิต อื่น ๆ บุคลากร งานวิจัย อาคาร สถานที่ บัญชี 3 มิติ ยุทธศาสตร์ / โครงการ
ระบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัยตอบสนอง ความต้องการของใครบ้าง ??? 31 Internet/Int ranet บุคคล ทั่วไป นิสิต บุคลากร / อาจารย์ / ผู้บริหาร สกอสกอ สม ศ กพ ร หน่วยงาน ต่าง ๆ ระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูล ของมหาวิทยาลัย ทะเบียนนิสิต บัญชี 3 มิติ อื่น ๆ บุคลากร งานวิจัย อาคาร สถานที่
32 เว็บหน้าแรกของมหาวิทยาลัยตอบโจทย์ผู้ใช้บริการครอบคลุมทุกพันธกิจ …
33 ระบบสารสนเทศสำหรับบุคคลทั่วไป … สืบค้นข้อมูล หลักสูตร ??? สืบค้นข้อมูลหลักสูตร จากระบบฐานข้อมูลหลักสูตร …
34 สืบค้นข้อมูลงานวิจัย … จากระบบฐานข้อมูลงานวิจัย
35 สืบค้นข้อมูลโครงการบริการวิชาการ … จากระบบฐานข้อมูล โครงการบริการวิชาการ
36 ภาพรวม … ระบบสารสนเทศสำหรับของมหาวิทยาลัยบูรพา
37 ข้อมูลสถิติ …
38 ข้อมูลภาวะการมีงานทำของบัณฑิต …
39
ระบบสารสนเทศหลักของมหาวิทยาลัย ระบบบุคลากร ระบบบัญชี 3 มิติ ระบบทะเบียนนิสิต/ระบบประเมินผลการเรียนการสอน ระบบ e-learning ระบบอาคารสถานที่ ระบบ e-document ระบบกองกิจการนิสิต ระบบงานวิจัย ระบบงานบริการวิชาการ 40
การให้บริการพัฒนาระบบสารสนเทศ โครงการพัฒนาระบบงานบริการนิสิตผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ตระบบทุนกู้ยืมการศึกษา โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับการจัด ฝึกอบรมสำนักคอมพิวเตอร์ โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศโครงการบริการ วิชาการมหาวิทยาลัย โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาสำนัก คอมพิวเตอร์
งานบริการวิชาการ โครงการบริการวิชาการและโครงการฝึกอบรมให้แก่ ข้าราชการ บุคลากร นิสิต และ บุคคลทั่วไป ๔๘ โครงการ โครงการของฝ่ายปฏิบัติการที่ให้บริการด้านระบบ เครือข่ายและคอมพิวเตอร์ ๓๖ โครงการ พัฒนา courseware 9 วิชา
โครงการของฝ่ายปฏิบัติการ โครงการของฝ่ายปฏิบัติการที่ให้บริการด้าน ระบบเครือข่ายและคอมพิวเตอร์ ๓๖ โครงการ
ผลงานของ e-learning
นโยบายการดำเนินงานประกันคุณภาพ สำนักคอมพิวเตอร์ได้นำข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการตรวจประเมิน ฯมาปรับปรุงการดำเนินการ ดังนี้ ◦ พัฒนาระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา ◦ เตรียมความพร้อมในการรองรับพัฒนาการด้านเทคโนโลยี … ◦ ….
สิ่งที่สำนักคอมพิวเตอร์ดำเนินการ พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัยที่ ครอบคลุมทุกภารกิจ ทุกส่วนงาน และตอบสนองงาน ประกันคุณภาพ ดำเนินการตามมาตรฐาน ISO ◦ ISO ◦ …
ผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้
ตาราง ส.๑ ผลการประเมินตามรายตัวบ่งชี้ จากการประเมินตนเอง
สรุปผลการประเมินคุณภาพ
ตารางที่ ส.๒ ผลการประเมินตามองค์ประกอบ คุณภาพ ๔ องค์ประกอบ
ตารางที่ ส.๓ ผลการประเมินตามมาตรฐาน การอุดมศึกษา ๓ มาตรฐาน
ตารางที่ ส.๔ ผลการประเมินตาม ๔ ด้าน BSC
บทสรุป
บทสรุป สำนักคอมพิวเตอร์ได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO ๑๔๐๐๑ : ๒๐๐๔ และ ISO ๙๐๐๑ : ๒๐๐๐ และอยู่ใน ระหว่างการจัดทำระบบความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล สารสนเทศ ISO๒๗๐๐๑ ผลการประเมินตามเกณฑ์มาตราฐานของ สกอ. ◦ ๕ องค์ประกอบ ๑๘ ตัวบ่งชี้ ได้คะแนน ๒.๗๕ ◦ ผลการประเมินเฉลี่ยรวมทุกองค์ประกอบอยู่ในระดับ “ดีมาก”
จุดที่ควรพัฒนา พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง และระบบบริการข้อมูลแลกเปลี่ยน ข้อมูลโดยผ่านเทคโนโลยีเว็บเซอร์วิส เพื่อรองรับระบบการ บริหารจัดการของทุกส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ทุกระดับทุกส่วนงานภายในมหาวิทยาลัย พัฒนาระบบการบริหารของสำนักคอมพิวเตอร์แบบมีส่วนร่วมทั้ง จากบุคลากรภายในและเปิดโอกาสให้ภาคเอกชน ประชาชน และเครือข่ายต่าง ๆ ได้มีโอกาสเข้าร่วมกำหนดทิศทางและวาง นโยบายในการพัฒนาองค์กร พัฒนาระบบการประเมินผลทุกประเภท เพื่อนำผลการประเมินมา ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพสำนักคอมพิวเตอร์ทุกด้านอย่างยั่งยืน
จุดเด่นของสำนักคอมพิวเตอร์ ผู้บริหารและบุคลากรของสำนักคอมพิวเตอร์ตระหนัก ความสำคัญของการประเมิน บุคลากรของสำนักคอมพิวเตอร์มีศักยภาพในการ ปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของงานและองค์กร ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและภาวะผู้นำในการ ขับเคลื่อนพันธกิจ และนำพาสำนักคอมพิวเตอร์สู่ องค์กรแห่งความเป็นเลิศ
แนวทางในการพัฒนา สำนักคอมพิวเตอร์
๑.จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศของสำนักคอมพิวเตอร์ ซึ่งอยู่ระหว่าง การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศของสำนักคอมพิวเตอร์ ๒. สำนักคอมพิวเตอร์ได้จัดทำระบบฐานข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัยในการ จัดเก็บข้อมูลในด้านต่าง ๆ เช่น ระบบบัญชี ๓ มิติ ระบบบุคลากร ระบบทะเบียน นิสิต ระบบงานวิจัย ฯลฯ เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนาระบบที่สามารถ นำมาประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ ที่คลอบคลุมภารกิจของทุกส่วนงานของ มหาวิทยาลัย
ขอบคุณครับ