ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
อ. ปิยวรรณ โถปาสอน
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา   

ความเป็นมา ความเป็นมา ตำบล บ้านซ่อง ตั้งอยู่ในอำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ตำบลบ้านซ่องได้ยกระดับเป็นเทศบาลตำบลในปี 2552 มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 69 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 43,025 ไร่ มีประชากรทั้งหมด 9,964 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยทำนาประมาณ 80 % นอกจากนั้นก็ปลูกมันสำปะหลัง มะม่วง ปลูกไม้ประดับ เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงปลา และทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม

กิจกรรมการพัฒนาในตำบล เริ่มขึ้นเมื่อประมาณปี 2528  โดย สำนักงานพัฒนาชุมชนได้เข้ามาส่งเสริมให้ชาวบ้านจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ขึ้นมา ในทุกหมู่บ้าน จากกลุ่มออมทรัพย์ต่างๆ ก็ได้มีการพัฒนาไปสู่กิจกรรมต่างๆ เช่น กลุ่มเครดิตยูเนี่ยน กลุ่มอาชีพ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มผลิตข้าว กลุ่มทำรองเท้า วิทยุชุมชน

ปัจจุบันได้ยกระดับเป็นแหล่งเรียนรู้ของเทศบาลตำบลบ้านซ่อง จำนวน 7 ระบบ 26 แหล่งเรียนรู้ ได้แก่             - ระบบบริหารจัดการท้องถิ่น จำนวน 5 แหล่ง เช่น การบริหารจัดการตำบลแบบโปร่งใสและมีส่วนร่วม           - ระบบเกษตรเพื่อ สุขภาวะ จำนวน 2 แหล่ง เช่น ศูนย์บริการและ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร           - ระบบภูมิปัญญาท้องถิ่น จำนวน 3 แหล่ง เช่น เพลงพื้นบ้าน ฯลฯ           - ระบบสุขภาพชุมชนและอาสา จำนวน 6 แหล่ง เช่น กลุ่ม อสม. กองทุนหลักประกันสุขภาพ ฯลฯ           - ระบบองค์กรการเงิน จำนวน 4 แหล่ง เช่น กลุ่มเครดิตยูเนี่ยนบ้านหัวกระพี้           - ระบบเศรษฐกิจชุมชน จำนวน 4 แหล่ง เช่น กลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวหอมมะลิ (ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด)           - ระบบการเรียนรู้เพื่อเด็กและเยาวชน จำนวน 2 แหล่ง เช่น โรงเรียนวัดหัวกระสังข์ ฯลฯ               

กลุ่มวิสาหกิจ  สภาพ พื้นที่ส่วนใหญ่ในตำบลบ้านซ่องเป็นที่ราบลุ่ม ผืนดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง และมีการระบายน้ำได้ดี จึงเหมาะแก่การทำการเกษตร โดยเฉพาะการทำนาปลูกข้าวที่ชาวบ้านสืบทอดกันมาช้านาน ปัจจุบันมีพื้นที่ทำนาประมาณ 26,853 ไร่ จากพื้นที่การเกษตรทั้งหมดในตำบล 37,125 ไร่ มีครัวเรือนที่ทำนา 737 ครัวเรือน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ต่อปีประมาณ 573 กิโลกรัม

5ประสาน นำสู่ชุมชนจัดการตัวเอง 1.เทศบาลตำบลบ้านซ่อง 2.ผู้นำชุมชน 5ประสาน นำสู่ชุมชนจัดการตัวเอง 3.กลุ่มและองค์กรชาวบ้านในชุมชน 5.หน่วยงานภาคีภายนอก 4.หน่วยงานราชกาลในท้องถิ่น เช่น สำนักงานเกษตรอำเภอ ศูนย์พัฒนาชุมชน

จบการนำเสนอ