งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ
รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิง กุสุมา ชูศิลป์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 เป้าหมาย การดูแลทารกแรกเกิด
พัฒนาคุณภาพการดูแลทางการแพทย์และความปลอดภัยของทารกทุกคน ค้นหาทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูง วินิจฉัยและรักษาภาวะแทรกซ้อนอย่างเหมาะสมและทันท่วงที ส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก

3 ทารกที่มี ความเสี่ยงสูง (High risk infant)
หมายถึงทารกที่เสี่ยงต่อความผิดปกติ ความพิการ และการสูญเสียชีวิตจาก ภาวะแทรกซ้อนในระยะปริกำเนิด

4 ขั้นตอนการประเมิน การตรวจสอบข้อมูลแม่ก่อนการตรวจ
การแนะนำตนเองและอธิบายการปฏิบัติต่อแม่และลูก ตรวจทารกอย่างเต็มที่ ให้คำยืนยันและคำแนะนำ

5 การแนะนำตัว บอกวัตถุประสงค์ ถามชื่อทารกเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ซักถามสุขภาพของลูกคนก่อนที่มี เปิดโอกาสให้มารดาซักถาม สังเกตการปฏิบัติของมารดาต่อลูก สังเกตทารก บันทึกสีผิว ใบหน้า การหายใจ ท่าทางและการเคลื่อนไหว

6 ประวัติและข้อมูลภูมิหลัง
การตั้งครรภ์ครั้งก่อน การตั้งครรภ์ปัจจุบัน และภาวะแทรกซ้อน การตรวจครรภ์ การตรวจอัลตราซาวด์ ภาวะเครียดของทารกในครรภ์ มารดาได้ยา/ยาสลบ ขณะคลอด ภาวะขาดออกซิเจน และการช่วยกู้ชีพ

7 ประวัติและข้อมูลภูมิหลัง
เพศของทารก น้ำหนักแรกเกิด อายุครรภ์ของมารดา อายุมารดาและประวัติทางสังคม โรคเรื้อรังของมารดา การที่แม่ได้ยา ดื่มเหล้า และสูบบุหรี่ ประวัติความผิดปกติในครอบครัว

8 ปัจจัยทารกขณะอยู่ในครรภ์
ครรภ์แฝด คลอดก่อนกำหนด น้ำเดินก่อนตลอด >24ชม. สงสัยน้ำคร่ำติดเชื้อ Hydramnios Fetal distress Fetal abnormality Fetal disease Isoimmunization

9 ปัจจัยทารกแรกเกิด น้ำหนักแรกเกิด (กรัม)
-low birth weight < 2500 กรัม -over birth weight >3800 กรัม -macrosomia >4000 กรัม อายุครรภ์แรกเกิด(สัปดาห์) - ก่อนกำหนดมาก < 29 - ก่อนกำหนด - ใกล้กำหนด 33-36 - ครบกำหนด 37-41 - เกินกำหนด >41 สัปดาห์

10 ภาวะที่ทารกผิดปรกติ ทารกแฝด
ทารกที่มีท่าผิดปรกติในครรภ์ เช่น ท่าก้น ท่าขวาง คลอดด้วยวิธีพิเศษ เช่น ผ่าตัดคลอด ใช้คีม เครื่องดูด ภาวะขาดออกซิเจนรุนแรงระยะปริกำเนิด มีความพิการแต่กำเนิด ภาวะบาดเจ็บขณะคลอด

11 ปัจจัยทางแม่ โรคประจำตัว ใช้ยาที่มีผลต่อลูก ดื่มเหล้า / สูบบุหรี่
ใช้ยาแก้ปวด / ยานอนหลับมากขณะคลอด ตกเลือดก่อนและหลังคลอด แม่มีไข้ แม่ติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ น้ำหนักเพิ่มขณะตั้งครรภ์ผิดปกติ มีภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์

12 ภาวะแทรกซ้อนในทารกตัวโต large for date
การบาดเจ็บขณะคลอด ; shoulder dystocia brachial plexus injury and palalysis ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ ปัญหาการหายใจ;TTNB ภาวะตัวเหลือง ภาวะเลือดข้น ระบบประสาทเจริญไม่เต็มที่ กล้ามเนื้อหัวใจพิการ

13 ภาวะทารกแรกเกิดตัวเล็ก small for gestation age
Hypoglycemia Hypoxic ischemic encephalopathy Hypothermia Polycythemia Necrotizing enterocolitis ความผิดปรกติพันธุกรรม การติดเชื้อในครรภ์ รกมีเลือดไปเลี้ยงน้อย มารดาขาดสารอาหาร มารดามีปัญหาสุขภาพ/โรคเรื้อรัง

14 สภาวะผิดปรกติ ที่ต้องดูแลในทารก
ตัวเล็กกว่าอายุครรภ์ (small for gestation age) ทารกคลอดก่อนกำหนด ภาวะบาดเจ็บขณะคลอด มีความพิการ ภาวะติดเชื้อ ภาวะตัวเหลือง ทารกที่มีมารดาเป็นเบาหวาน ภาวะขาดยาเสพติด

15 การดูแลทารกแรกเกิดระดับที่1
ระดับที่1 ก การดูแลพื้นฐานสำหรับทารกปกติหลังเกิดรวมPhototherapy ระดับที่1 ข การดูแลสำหรับทารกที่มีน้ำหนักมากกว่า 1800 กรัม หรือมีอายุครรภ์เกิน 34 สัปดาห์ ที่เจ็บเล็กน้อยและแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว ฟื้นฟูสภาพเจ็บป่วยได้เร็ว ให้น้ำเกลือ สารน้ำ และยาทางหลอดเลือดได้ ให้ออกซิเจนทางจมูกได้ และมีการติดตาม oxygen saturation monitoring

16 การดูแลทารกแรกเกิดระดับที่2 special care newborn nursery:
ระดับที่2 ก การดูแลสำหรับทารกที่มีน้ำหนักมากกว่า 1500 กรัม หรือมีอายุครรภ์เกิน 32 สัปดาห์ ที่เจ็บเล็กน้อยและแก้ปัญหาอย่างรวดเร็ว หรือยังคงดูแลพิเศษหลังฟื้นตัวจากการรักษาระยะวิกฤติ มีการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำในช่วงสั้นๆ มีการช่วยกู้ชีพและการรักษาประคับประคองทารกที่ป่วยอย่างเหมาะสม ให้ออกซิเจนทางจมูกได้ และมีการติดตาม oxygen saturation monitoring

17 การดูแลทารกแรกเกิดระดับที่2 special care newborn nursery:
ระดับที่2 ข การดูแลระดับ 2 ก ร่วมกับการใช้เครื่องช่วยหายใจช่วงสั้น หรือน้อยกว่า 24 ชั่วโมง หรือการใช้เครื่องช่วยหายใจที่มีแรงดันบวกอย่างต่อเนื่อง มีการให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ ที่สามารถใส่สายสวนทางสะดือ หรือpercutaneous intraveneous central lines

18 การดูแลทารกแรกเกิดระดับที่3 Intensive neonatal care:
ระดับที่3 ก การดูแลสำหรับทารกทุกอายุครรภ์และน้ำหนักแรกเกิดทุกระดับ มีการใช้เครื่องช่วยหายใจร่วมกับ inhaled nitric oxide ที่นานตามต้องการ และการดูแลต่างๆที่มีผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษา

19 การดูแลทารกแรกเกิดระดับที่3 Intensive neonatal care:
ระดับที่3 ก มีการจัดบริการแบบผสมผสานกับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา การถ่ายภาพรังสีเทคนิคพิเศษ เช่น - computed tomography, - magnetic resonance imaging and - cardiac echocardiography on an urgent basis ระดับที่3 ข ระดับที่3 ก ร่วมกับมีการทำผ่าตัดใหญ่ ระดับที่3 ค ระดับที่3 ข ร่วมกับ Extracorporeal membrane oxygenation hemofiltration and hemodialysis, or surgical repair of serious congenital cardiac malformations that require a cardiopulmonary bypass

20 Neonatal Intensive Care Unit (NICU)
ปัจจุบันรักษาsmall, premature, or congenitally ill babies. ให้บริการที่เป็นมิตรกับพ่อแม่ 'parent friendly', พ่อแม่มีส่วนร่วมในการดูแลลูกอย่างเต็มที่. ให้ทารกได้ประโยชน์สูงสุดจากการสัมผัสเนื้อแนบเนื้อ เช่น Kangaroo care

21 โรคที่รักษาใน NICU prematurity and extreme low birth weight,
perinatal asphyxia, major birth defects, sepsis, neonatal jaundice, and Infant respiratory distress syndrome necrotizing enterocolitis. intracranial hemorrhage, chronic bronchopulmonary dysplasia syndrome), or retinopathy of prematurity.

22 เครื่องมือใน NICU An incubator
Oxygenation, through oxygen supplementation sophisticated measurement of temperature, respiration, cardiac function, oxygenation, and brain activity administering surfactant and stabilizing the blood sugar, blood salts, and blood pressure.

23 เครื่องมือใน NICU Provision of nutrition, through intravenous catheter or NG tube. keeping a high air humidity to prevent too great a loss from skin and respiratory evaporation transport incubator and miniature ventilator, cardio-respiratory monitor, IV pump, pulse oximeter, and oxygen supply built into its frame

24 การดูแลที่จำเป็นสำหรับทารก
การควบคุมและการป้องกันการติดเชื้อ การควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม การช่วยการดูแลทางเดินหายใจและการรักษาระบบทางเดินหายใจอย่างเหมาะสม ดูแลภาวะน้ำหนักตัวแรกเกิดลด ประเมินดารขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ประเมินการแหวะนมและการอาเจียน เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน การดูแลทางโภชนาการ การคิดตามภาวะความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นทั้งระยะสั้นและระยะยาว

25 การช่วยกู้ชีพและการให้ออกซิเจน

26 การช่วยกู้ชีพและการให้ออกซิเจน

27 การช่วยกู้ชีพและการให้ออกซิเจน

28 การปรับอุณหภูมิร่างกาย

29 ตัวอย่างการควบคุมการติดเชื้อ

30 การให้สารน้ำสารอาหาร

31 การดูแลโภชนาการ

32 การโอบกอดเนื้อแนบเนื้อ

33 การรักษาภาวะแทรกซ้อน

34 การสร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อการดูแลคุณภาพ

35 NICU ในอนาคต

36 ขอบคุณที่ช่วยหนู รอด ไม่พิการ และสมองดี


ดาวน์โหลด ppt การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google