งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการจัดระบบ ดูแลรักษา เครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการจัดระบบ ดูแลรักษา เครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการจัดระบบ ดูแลรักษา เครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข
ยินดีต้อนรับ โครงการจัดระบบ ดูแลรักษา เครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข ประจำปี 2553

2 วัตถุประสงค์ของโครงการ ฯ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการ พัฒนาคน พัฒนาเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ พัฒนาสถานที่ สภาพแวดล้อม อื่นๆ

3 เพื่อให้โรงพยาบาลมีระบบการบริหารจัดการ
ด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่มีมาตรฐาน

4 เพื่อให้โรงพยาบาลมีระบบการจัดการข้อมูลด้านเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพ

5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงพยาบาล มีระบบ การบำรุงรักษาที่เป็นมาตรฐาน

6 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการซ่อมและบำรุงรักษา
ให้กับเจ้าหน้าที่ช่างของโรงพยาบาล

7 เพื่อให้ผู้ใช้และบุคลากรของโรงพยาบาล มีความรู้ความเข้าใจในการใช้
การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ อย่างถูกต้องและปลอดภัย

8 การตรวจประเมิน เพื่อการรับรองระบบ

9 การฝึกอบรม ( 5-6 หลักสูตร/ปี ) ติดตั้งโปรแกรมการบริหารจัดการ(RMC)
รูปแบบการดำเนินการ ในส่วนของกองวิศวกรรมการแพทย์ การฝึกอบรม ( 5-6 หลักสูตร/ปี ) ติดตั้งโปรแกรมการบริหารจัดการ(RMC) ให้การสนับสนุนเอกสาร คู่มือต่างๆ ส่งเจ้าหน้าที่ไปร่วมดำเนินการ ในกิจกรรมต่างๆ ทั้งจากศูนย์และกองฯ ให้คำปรึกษา ติดตามและประเมินผล

10 ส่งคนเข้ารับการฝึกอบรม ในทุกหลักสูตร นำใช้ โปรแกรมการบริหารจัดการ
รูปแบบการดำเนินการ ในส่วนของโรงพยาบาล ส่งคนเข้ารับการฝึกอบรม ในทุกหลักสูตร นำใช้ โปรแกรมการบริหารจัดการ ดำเนินกิจกรรมต่างๆ ตามมาตรฐานฯ ศึกษาเอกสาร คู่มือต่างๆ ประสานเจ้าหน้าที่ไปช่วยดำเนินการ ในกิจกรรมต่างๆ ทั้งจากศูนย์และกองฯ ขอคำแนะนำต่างๆ

11 เป้าหมาย ปี 2553 โรงพยาบาลชุมชน / โรงพยาบาลทั่วไป /โรงพยาบาลศูนย์
จำนวน 70 โรงพยาบาล

12 ความคาดหวังของกองวิศวกรรมการแพทย์
โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการมี ระบบงานด้านวิศวกรรมการแพทย์ ที่มีประสิทธิภาพ อย่างน้อย 4 ด้าน

13 ความสำคัญของ การบริหารจัดการระบบ บำรุงรักษาของโรงพยาบาล

14 ยุคโลกาภิวัฒน์ โลกใบน้อย การติดต่อด้วย Internet
การติดต่อด้วยระบบ Cellular การพัฒนาระบบการบิน การขนส่ง การไหลเข้ามาของวัฒนธรรม การค้าไร้พรมแดน

15 ยุคแห่งระบบคุณภาพ HA QA TQM, TQA PCT ISO

16 แล้วเราจะอยู่อย่างไร?
? 1000 เทคโนโลยี ? 1000 ยี่ห้อ/ผู้ขาย กฎหมายคุ้มครองผู้รับบริการ ?????

17 สำรวจตนเอง อะไรบ้างที่ไม่รู้ ? อะไรบ้างที่ทำหรือใช้ไม่เป็น ?
อะไรบ้างที่ยังไม่มีประสบการณ์ ? อะไรบ้างที่ต้องการการอบรมและพัฒนา ? สถานะของเราอยู่จุดไหนของระบบ ? จะให้บริการอย่างไร ?

18 สำรวจองค์กรช่าง ทำหน้าที่อะไร ? โครงสร้างเป็นอย่างไร ?
งบประมาณเป็นอย่างไร ? จุดรอดจุดตาย ? จะปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างไร ? แข่งขันได้หรือไม่ ?

19 บทบาทและหน้าที่ของหน่วย
สถานบริการ ด้านการดูแลเครื่องมือแพทย์ เป็นแหล่งข้อมูล และเครือข่ายทางวิชาการ พัฒนาทรัพยากรบุคคล บริหารงบประมาณ

20 การพัฒนาศักยภาพการให้บริการ
การบริหารจัดการ: สะดวก สะอาด รวดเร็ว เอื้อเฟื้อ การถ่ายทอดเทคโนโลยี จัดหาบุคลากรที่มีคุณภาพ การซ่อมบำรุง การตรวจสอบ/สอบเทียบ

21 Performance ของหน่วยงานช่าง
รวดเร็ว ตรงต่อเวลา มีการบริหารจัดการที่ดี มีทรัพยากรบุคคลดี ใช้เทคโนโลยีคุ้มค่า

22 Expectation Quality of Service Man Management Technology Maintenance
Service Safety

23 BOSS vs. Practice ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ นโยบาย หน้าที่
ปลอดภัยกับ ผู้รับบริการ ปลอดภัยกับผู้ให้บริการ ชื่อเสียงองค์กร ผู้ปฏิบัติ หน้าที่ ความปลอดภัยของ ตนเอง ปลอดภัยกับผู้รับบริการ วิชาการ ความก้าวหน้า

24 Clinical Safety ร้องเรียน ฟ้องร้อง ร้องเรียน ฟ้องร้อง Disease Cure
Duty Quantity Quality Exposure Risk ร้องเรียน ฟ้องร้อง ร้องเรียน ฟ้องร้อง

25 Cause of Error Changing of law, rules, regulation
Social and cultural changes Service system Advance in knowledge, innovation, technology Lack of personnel development

26 Clinical Safety Risk กลยุทธ์ 1. หลีกเลี่ยงความเสี่ยง (ทบทวนและฝึกอบรม)
2. ผ่องถ่ายความเสี่ยง (Consultation & referral system) 3. ป้องกันความเสี่ยง - ระบบจัดเก็บ - ระบบตรวจสอบและบำรุงรักษา (Logbook) - ระเบียบปฏิบัติ (Handbook) - ระบบตรวจสอบ

27 การดำเนินงานของโรงพยาบาล
Input งบประมาณ\รายรับ บุคลากร เทคโนโลยี เวชภัณฑ์ อาคารสถานที่ Output บริการที่ดี การรักษามีประสิทธิภาพ บุคลากรก้าวหน้า\พึงพอใจ มีรายได้

28 Medical Technology Investigation Diagnosis Monitoring Drug delivery
Treatment HIS etc.....( 32 สาขา)

29 ความสำคัญของการจัดการระบบ
ผลกระทบด้านลบ สิ้นเปลืองงบประมาณ เป็นภาระการบริหาร เสียเวลา สิ้นเปลืองคน เกิดความแตกแยก ผลกระทบด้านการรักษา ผลกระทบด้านบวก ประหยัดงบประมาณ แบ่งเบาภาระหน้าที่ เกิดความก้าวหน้า เพิ่มประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล ประชาชนพึงพอใจ สร้างรายได้

30 ปัญหาการจัดการระบบ การจัดซื้อจัดหา การเตรียมความพร้อมด้านสถานที่
การฝึกอบรมดูงาน การใช้งานและบริหารจัดการ การบำรุงรักษาและซ่อมแซม การยกเลิกการใช้ การจัดหาทดแทน\จัดซื้อเพิ่มเติม

31 ข้อพิจารณาในการจัดหาเทคโนโลยี
Want or Need ? ชนิดของเทคโนโลยี / ทางเลือก ซื้อหรือเช่า ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือ การบำรุงรักษา ตัวแทนจำหน่าย\ผู้ให้บริการ ความคุ้มทุน

32 ความคุ้มทุน รายรับ รายจ่าย Hardware, software Money material, process
Knowledge Satisfaction Saving รายจ่าย Money Man Management Time

33 อุปสรรค ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร การเข้าถึงเทคโนโลยี อื่นๆ

34 แนวทางแก้ไข ประชุมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ศึกษาต่อเนื่อง สร้างเครือข่าย
Consultation

35 องค์กรที่สนับสนุน หน่วยเหนือ โรงพยาบาลข้างเคียง องค์การอาหารและยา
กองวิศวกรรมการแพทย์ มาตรวิทยาแห่งชาติ สวทช. NECTEC, BIOTEC, MTEC

36 ตัวอย่างโรงพยาบาลที่เป็นแบบอย่าง ระบบบริหารจัดการที่ดี
รูปแบบการปฏิบัติที่ดี Best practice

37 ห้องทะเบียนประวัติผู้ป่วย
ผู้อำนวยการ ห้องตรวจ หอผู้ป่วย ห้องผ่าตัด ห้องจ่ายยา ห้องแล็ป โภชนาการ ซักฟอก สิ่งแวดล้อม พัสดุ ยานพาหนะ ช่าง ยาม ฉุกเฉิน การเงิน โรงพยาบาล ขนาด 30 เตียง โรงพยาบาล ขนาด 100 เตียง ห้องตรวจเฉพาะทาง X-ray computer ธนาคารเลือด หอผู้ป่วยพิเศษ ห้องผ่าตัดเฉพาะทาง หอผู้ป่วยหนัก ห้องทะเบียนประวัติผู้ป่วย บำบัดน้ำเสีย สังคมสงเคราะห์ ช่างอุปกรณ์การแพทย์ ห้องคลอด ห้องเก็บศพ

38 แนวทางการวางแผน การบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ ในโรงพยาบาล
แนวทางการวางแผน การบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ ในโรงพยาบาล เรื่องดี ๆ ที่ต้องช่วยกันทำให้ง่าย ๆ และเกิดประโยชน์กับทุกฝ่าย

39 การบริหารองค์กรในยุคใหม่
มีการมุ่งเน้นการพัฒนามาตรฐานและคุณภาพในหลาย ๆ ด้าน ได้แก่ QA Quality Accreditation HA Hospital Accreditation ISO International Standard Organization

40 บุคลากร ผู้อำนวยการ / รองผู้อำนวยการ พยาบาล เจ้าหน้าที่ช่าง -พัสดุ

41 แผนการจัดการเครื่องมือ
ผู้บริหารที่ดูแลรับผิดชอบ การจัดการเครื่องมือ ผู้บริหารด้านงานช่าง ผู้บริหารด้านงานโรงพยาบาล ผู้บริหารด้านงานพัสดุ แผนการจัดการเครื่องมือ

42 การดำเนินการเพื่อบรรลุสู่เป้าหมาย
การกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจ การกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อบรรลุพันธกิจ การดำเนินกลยุทธ์ในการดำเนินการ การควบคุมให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด การประเมินผลการดำเนินการ การให้ผลตอบแทนตามความเหมาะสม

43 แนวคิดการวางแผนบำรุงรักษา
Strategic Development Outcome Plan Do Check Act Self assessment SWOT Operation Benchmarking

44 แนวทางการจัดการเครื่องมือ (Equipment Mangaement)
ความเพียงพอของเครื่องมือ การจัดกลุ่มประเภทเครื่องมือ หลักเกณฑ์ และกลไกในการคัดเลือก/ประเมินเครื่องมือ ความรู้ของผู้ใช้เครื่องมือ การบำรุงรักษา (PM : Preventive maintenance) การซ่อม เมื่อเครื่องมือชำรุด การสอบเทียบค่า (Calibration) แผนการจัดการเครื่องมือในอนาคต

45 ความเพียงพอของเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์
เครื่องมืออุปกรณ์มีเพียงพอต่อการใช้งาน เพียงพอตามมาตรฐาน โดยการแบ่งเครื่องมือตามลักษณะของหน่วยงาน มีศูนย์สำรองเครื่องมือ ศูนย์เครื่องช่วยหายใจ ศูนย์เครื่องควบคุมการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ หน่วยงานมีความประสงค์ต้องการเครื่องมือเพิ่มเติม ต้องทำแผน และขออนุมัติจากผู้บริหาร

46 การจัดประเภทเครื่องมือให้เพียงพอ ตามหน่วยงาน
หอผู้ป่วยฉุกเฉิน หอผู้ป่วยหนัก หอผู้ป่วยสามัญ EKG NIBP Ventilator Defibrillator Oxygen Saturation Doppler Infusion Pump Syringe Pump EKG Recorder Light Source Suction Gas Flow Meter Opthalmoscope EKG NIBP Ventilator Defibrillator Oxygen Saturation Infusion Pump Syringe Pump Cardiac Output Monitor Fetal Monitor Pulse Oximeter Central Monitor Light Source Gas Flow Meter Opthalmoscope BP. Monitor Defibrillator EKG Recorder Pulse Oximeter Light Source Suction Gas Flow Meter Opthalmoscope Blood Pressure

47 มีระบบสำรองเครื่องมือและวัสดุการแพทย์ที่จำเป็นพร้อมที่จะใช้ในการให้บริการได้ตลอดเวลา

48 ตัวแทน บริษัท อัลลายด์ เมดิคอล
Brand Terumo Model TE-311 S/N เลขพัสดุ HI /42 (1) วันรับ 8 พ.ค. 2543 ราคา 60,000 ตัวแทน บริษัท อัลลายด์ เมดิคอล รายละเอียด เครื่องควบคุมการให้สารละลาย (Terumo) ชนิดใช้กระบอกฉีดยา ครุภัณฑ์เงินบริจากสลากกินแบ่งรัฐบาล

49 ตัวแทน บริษัทสุพรีมโปรดักส์
Brand Ohmeda Model Excel 210SE S/N AMAA04541 เลขพัสดุ /2/1-40 วันรับ 7 พ.ย. 2540 ราคา 850,000 บาท/เครื่อง ตัวแทน บริษัทสุพรีมโปรดักส์ รายละเอียด เป็นเครื่องดมยาสลบ มีระบบควบคุม ventilator ด้วยไฟฟ้า เงินงบประมาณปี 40 สัญญา พ 258/41 ทะเบียนเอกสาร 74/40 ใช้ventilator รุ่น 7800 (มี 9 เครื่อง)

50 การบำรุงรักษา ลำดับ รายการ C V P S
Thermometer Defibrillator เครื่องดมยาสลบ Autoclave เครื่องวัดความดัน ตู้อบเด็ก C=calibration V=Verification P=Preventive Maintenance S=Standard

51 มีระบบบันทึกการบำรุงรักษาเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ
- มีบันทึกประวัติของเครื่อง - มีบันทึกปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่อง - มีระบบการซ่อมเครื่องมือ

52 มีระบบบำรุงรักษาเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ
- มีคู่มือปฏิบัติในการดูแลรักษาเครื่องมือ - มีระบบในการดูแลเครื่องมือ - หรือมีระบบที่จะติดต่อหน่วยบริการ นอกโรงพยาบาลได้ทันที

53 การแบ่งประเภทเครื่องมือ
1. กลุ่มสอบเทียบค่า (Calibration) 2. กลุ่มสอบทวน (Verification of Calibration) 3. กลุ่มบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive maintenance) 4. กลุ่มมาตรฐานเทียบเคียง (Standard) 5. กลุ่มประหยัดพลังงาน (Safe Energy) 6. อื่น ๆ (Others)

54 วิธีการบำรุงรักษา ทำตามโปรแกรม การทดสอบหน้าที่ (Performance test)
การทดสอบความปลอดภัย (Safety test)

55 PREVENTIVE MAINTENANCE (PM)
การตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องมือเป็นระยะ ตามกำหนดระยะเวลา ที่ได้วางแผนไว้อย่างเหมาะสม เพื่อป้องกันเครื่องมือชำรุดจนต้องหยุดการใช้งาน เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับเครื่องมือ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าเครื่องมือจะทำงานที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน 2 วิธี คือ Shut Down Maintenance เป็นการบำรุงรักษาชนิดที่ต้องหยุดการใช้งาน Running Maintenance เป็นการบำรุงรักษาที่ไม่ต้องหยุดการใช้งานเครื่องมือ

56 PREVENTIVE MAINTENANCE (PM)
5 ขั้นตอนในการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน 1. การตรวจสอบสภาพทั่วไปด้วยสายตา (Visual Inspection) 2. การทำความสะอาดภายใน และภายนอก (Cleanliness) 3. การทดสอบหน้าที่การทำงาน (Functional Test) 4. การทดสอบสมรรถภาพ (Performance Test) 5. การทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า (Safety Test) กำหนดระยะเวลาในการบำรุงรักษาเครื่องมือ บำรุงรักษาทุก 3 เดือน บำรุงรักษาทุก 6 เดือน บำรุงรักษาทุก 12 เดือน

57 PREVENTIVE MAINTENANCE (PM)
การบำรุงรักษาทุก 3 เดือน ใช้กับเครื่องมือที่มีความเสี่ยงต่อชีวิตผู้ป่วยขณะใช้ทำการรักษาอย่างสูง EKG, Defibrillator, Ventilator, Vital Sign Monitor, Capnograph การบำรุงรักษาทุก 6 เดือน ใช้กับเครื่องมือที่มีความเสี่ยงต่อชีวิตผู้ป่วย ระดับปานกลาง Oxygen Blender, CPM, Echo Camera, Gas Flow Meter, laryngoscope การบำรุงรักษาทุก 12 เดือน ใช้กับเครื่องมือที่มีความเสี่ยงต่อชีวิตผู้ป่วย ระดับน้อยมาก ที่นอนลมกันแผลกดทับ, Double Outlet, Voltage Stabilizer

58 การแสดงผลการตรวจสอบ วัน เดือน ปี ที่ตรวจสอบ
วัน เดือน ปี ที่ครบกำหนดตรวจสอบครั้งต่อไป ผลการตรวจสอบ ชื่อผู้ตรวจสอบ

59 ตัวอย่าง Sticker สีส้ม (การบำรุงรักษา)
การบำรุงรักษาตามกำหนดเวลา เลขรหัส วันดำเนินการ วันครบกำหนด ผู้ดำเนินการ หมวดอุปกรณ์การแพทย์ หน่วยอิเลคทรอนิคส์ คณะแพทยศาสตร์ มช.

60 ตัวอย่าง Sticker สีส้ม (การบำรุงรักษา เครื่องมือเล็ก)
ครบกำหนด ผู้ดำเนินการ MET.

61 ตัวอย่าง Sticker สีเขียว (สอบเทียบ)
การสอบเทียบมาตรฐานอุปกรณ์ชีวการแพทย์ วันดำเนินการ วันครบกำหนด ช่างผู้ดำเนินการ หมวดอุปกรณ์การแพทย์ หน่วยอิเลคทรอนิคส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ , Fax

62

63 ผลดีของการทำการบำรุงรักษา
- ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อม - ยืดอายุการใช้งานของเครื่อง - ลดเวลาที่เครื่องเสียลง - มั่นใจในความถูกต้อง - มีแผนดำเนินการที่ชัดเจน

64 ผลเสีย เมื่อไม่มีการบำรุงรักษา
- ค่าใช้จ่ายในการซ่อมสูง - อายุการใช้งานของเครื่องสั้นลง - ไม่มีความมั่นใจในความถูกต้อง - ไม่มีแผนดำเนินการที่ชัดเจน

65 การรวมศูนย์เครื่องมือ มีการจัดการรวมศูนย์ฯเครื่องมือ
- 1. ศูนย์เครื่องช่วยหายใจชนิดควบคุมด้วยความดัน (Bird Respirator) - 2. ศูนย์เครื่องควบคุมการให้สารละลาย (Infusion Pump - Syringe Pump) รายการ จำนวน เครื่องช่วยหายใจเบิร์ด 103 Volume Ventilator (เช่าซื้อ) Infusion Pump (เช่าซื้อ) Syringe Pump

66 หลักเกณฑ์ และกลไกในการคัดเลือก/ประเมินเครื่องมือและอุปกรณ์
พิจารณาตามวัตถุประสงค์การใช้งานตามความจำเป็นและความต้องการของผู้ใช้และหน่วยงาน พิจารณาข้อดี ข้อเสีย ของแต่ละเครื่อง ทั้งจากการทดลองใช้ และสอบถามจากหน่วยงานผู้ที่เคยใช้ ราคาภายในวงเงินงบประมาณที่กำหนด สืบค้นและศึกษาข้อมูลที่จำเป็น ด้านบริษัทผู้ขาย ความน่าเชื่อถือ ชนิด รุ่น ราคา คุณภาพ ข้อเด่น ข้อด้อย ของแต่ละเครื่อง แต่ละรุ่น ความมั่นคงของบริษัทและบริการหลังการขาย กำหนดให้ มีคู่มือการใช้ Service Manual และกำหนดการรับประกัน การอบรมให้กับผู้ใช้ (แพทย์ พยาบาล) และช่าง

67 เครื่องมือพิเศษ (ตัวอย่าง)
เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เครื่อง MRI เครื่อง Cath Lab เครื่องดมยาสลบ เครื่องหัวใจและปอดเทียม เครื่องสลายนิ่ว เครื่องช่วยหายใจ เครื่องเฝ้าติดตามการทำงานระบบหัวใจ เครื่องไตเทียม

68 ความรู้ของผู้ใช้เครื่องมือพิเศษ
กำหนดในสัญญาจัดซื้อ ให้ผู้ขายจะต้องส่งมอบคู่มือการใช้ให้กับผู้ใช้ คู่มือการซ่อมให้กับช่าง ทุกครั้งที่บริษัทส่งมอบเครื่อง ต้องจัดให้มีการอบรมผู้ใช้งานทุกกลุ่ม และช่าง จัดให้มีแนวทางการป้องกันความเสียหายโดย ช่างจัดทำคู่มือแนะนำการใช้งานสำหรับเครื่องมือ และแนะนำการใช้งาน เป็นวิทยากร อบรม ให้ความรู้กับพยาบาล (ร่วมกับฝ่ายการพยาบาลฯ) กำหนดแผนการบำรุงรักษาให้กับเครื่องมือ กรณีมีอุบัติการณ์ที่ทำให้เครื่องมือเสียหาย ช่างจะสรุปหาสาเหตุและ ชี้แจงให้กับผู้ใช้ได้ทราบ

69 แนวทางการป้องกันการชำรุดของเครื่องมือ โอกาสการพัฒนา
แนวทางการป้องกันการชำรุดของเครื่องมือ โอกาสการพัฒนา 1. ชำรุดด้านเทคนิค - วิศวกรรมของเครื่องมือ - ตรวจเช็คระบบป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร, ไฟฟ้ารั่ว ตามระยะเวลาการบำรุงรักษา - แนะนำการติดตั้ง UPS, เครื่องรักษาระดับแรงดันไฟฟ้า 2. ชำรุดด้านอายุการใช้งาน - การเสื่อมสภาพ - ตรวจสอบแบตเตอรี่ ตามระยะเวลาการบำรุงรักษา - ทำคู่มือแนะนำการใช้แบตเตอรี่ การชาร์จแบตเตอรี่ 3. ชำรุดจากผู้ใช้ ใช้ผิดวิธี - ทำคู่มือแนะนำการใช้ ติดไว้กับเครื่องมือสำคัญๆ - ให้การอบรมการใช้งานประจำปี, แนะนำการใช้งานยังจุดผู้ใช้บริการ 4. ชำรุดจากอุบัติเหตุ ที่เกิดจากผู้ป่วย - ให้คำแนะนำและชี้แจงเพื่อป้องกัน และให้ผู้ใช้ได้ทราบถึงค่าใช้จ่ายที่เสียหาย

70 การสอบเทียบมาตรฐาน (CALIBRATION)
ทำการสอบเทียบมาตรฐาน โดยเน้นเครื่องมือที่มีความเสี่ยงต่อผู้ป่วยในระดับสูง จุดประสงค์ เพื่อรับประกัน ความถูกต้อง (Validity) ความเที่ยงตรง (Reliability) ผู้ใช้มีความมั่นใจในการใช้งาน มี Sticker แสดงวันสอบเทียบครั้งสุดท้ายติดที่ตัวเครื่อง Sticker สีส้ม เพื่อนัดหมายการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ในครั้งถัดไป Sticker สีเขียว เพื่อนัดหมาย การสอบเทียบมาตรฐาน ในครั้งถัดไป

71

72 การสอบเทียบมาตรฐาน เครื่องมือที่นำมาดำเนินการสอบเทียบมาตรฐาน
เครื่องมือสอบเทียบมาตรฐาน เครื่องมือแพทย์ที่นำมาสอบเทียบ 1. Gas Flow Analyzer 2. SPO2 Monitor Analyzer 3. International Safety Analyzer 4. Defibrillator Analyzer 5. Electrosurgical Analyzer 6. Non Invasive Pressure Monitor Anlyzer 7. Infusion Analyzer Device 8. Incubator Analyzer Device เครื่องช่วยหายใจ , Gas Flow Meter , Suction เครื่อง Pulse Oximeter เครื่องมือทุกประเภทที่ใช้ระบบไฟฟ้า เครื่อง Defibrillator เครื่องตัดจี้ผ่าตัดด้วยไฟฟ้า เครื่อง BP , NIBP เครื่อง Infusion Pump , Syringe Pump ตู้อบเด็กทารก

73 อัตราการซ่อมเสร็จต่อเดือนคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ 90.3 %
การวัดผล ตัวชี้วัด อุบัติการณ์ เกี่ยวกับการจัดการเครื่องมือ อัตราการซ่อมเสร็จต่อเดือนคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ % อัตราการบำรุงรักษาต่อเดือนที่ทำเสร็จ % อัตราความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ดีมาก 26% ดี 52% พอใช้ 15% ปรับปรุง 7%) รายงานอุบัติการณ์ปี 2547 เกิดอุบัติการณ์ 15 ครั้ง จำนวนการฝึกอบรม ดูงานของบุคลากร (มากกว่า 20 ครั้ง/ปี เจ้าหน้าที่ได้รับการอบรมตามงานที่เกี่ยวข้อง)

74 Patient Safety Goal มาตรการเพื่อความปลอดภัยในการใช้เครื่อง Infusion Pump การคัดเลือกเครื่อง Infusion pump กำหนดคุณลักษณะเครื่อง จะต้องมีระบบ Free flow protection จำกัดชนิดของ Infusion pump และรุ่น ให้น้อยที่สุด จัดระบบประเมิน และการคัดเลือกชุด IV การใช้เครื่อง มีคู่มือ และคำแนะนำติดไว้ทุกเครื่อง กำหนดเป็นมาตรฐานเชิงนโยบายสหสาขา ให้ใช้เครื่องตามที่จำเป็นและเหมาะสมกับผู้ป่วยเท่านั้น เจ้าหน้าที่พยาบาล ต้องได้รับการอบรม การใช้เครื่องทุกคน การบำรุงรักษา เครื่องต้องได้รับการบำรุงรักษา (ทุก 3 เดือน) และสอบเทียบทุกเครื่อง (ทุก 1 ปี)

75 ระบบไฟฟ้า ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อระบบไฟฟ้าขัดข้อง
- มีขั้นตอนการตรวจเช็ค เมื่อระบบไฟฟ้าขัดข้อง - มีการตรวจเช็คบำรุงรักษา เป็นประจำ ทุกวันศุกร์ - มีระบบ ATS จ่ายกระแสไฟฟ้า ในจุดสำคัญภายใน 9-15 วินาที - มีระบบสำรองน้ำมันดีเซล

76 ระบบไฟฟ้า - มีรายงาน Maintenance Report
รายงานการตรวจเช็ค ซ่อมบำรุงเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

77 Preventive Maintenance PM

78 Equipment Lifecycle Installation Acceptance testing and approval
Clinical use Planned maintenance and unplanned maintenance (corrective) Decommissioning/Disposition This slide shows the equipment lifecycle once it arrives at the hospital. The Medical Equipment Planning Cycle, and the ACTUAL equipment lifecycle are inter-related and go hand in hand. At each phase of the Equipment Lifecycle, there is a corresponding Equipment Planning phase. อายุการใช้งานของเครื่องมือ – การติดตั้ง, การทดสอบเครื่องมือก่อนการใช้งานและการอนุมัติ, การใช้เครื่องมือทางการแพทย์, การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม, การยกเลิกเครื่องมือและการจัดระเบียบ Col Lin Yeo

79 สาเหตุการชำรุดของเครื่องมือ
การใช้งานผิดพลาด ผู้ควบคุม/ผู้ใช้ มีความรู้ไม่เพียงพอ หรือ ใช้อุปกรณ์ต่างๆ ไม่ถูกต้องตามข้อกำหนดของเครื่องนั้นๆ หรือ ใช้งานเกินความสามารถของเครื่อง เครื่องมือเครื่องใช้ด้อยคุณภาพ การออกแบบผิดพลาด หรือ ชิ้นส่วน /อุปกรณ์ไม่มีคุณภาพ หรือ การควบคุมคุณภาพในการผลิตเครื่องไม่ดีพอ ขาดการบำรุงรักษา หรือ การบำรุงรักษาไม่ถูกต้อง สภาพแวดล้อมในที่ใช้งานไม่เหมาะสม การเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน อุบัติเหตุ ภัยธรรมชาติ

80 ความหมายของการบำรุงรักษา
การบำรุงรักษา ( Maintenance ) หมายถึง :- “ การพยายามรักษาสภาพของเครื่องมือ พร้อมอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีสภาพที่พร้อม ใช้งานอยู่ตลอดเวลา อย่างมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย ”

81 เป้าหมายของการบำรุงรักษา
เครื่องมีความพร้อมใช้งาน เครื่องมีความเชื่อถือได้ เกิดความปลอดภัย เกิดสภาพแวดล้อมที่ดี ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม

82 สาเหตุที่ทำให้เครื่องมือเกิดการชำรุด สามารถแบ่งช่วงเวลาออกได้เป็น 3 ช่วง

83

84 เวลา สมรรถนะ Concept of Preventive Maintenance PM PM PM 100% ยอมรับได้
ยอมรับไม่ได้ เวลา Concept of Preventive Maintenance

85

86 มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

87 การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ กระบวนการดูแลผู้ป่วย
ตอนที่ I ตอนที่ IV การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ด้านการนำ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การนำ ผลการ ดำเนินงาน การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ ระบบงานสำคัญของ รพ. ตอนที่ II ตอนที่ III ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย กระบวนการดูแลผู้ป่วย การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง

88 I – 4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการความรู้
(Management of Information, Information Technology, and Knowledge Management) องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีข้อมูล สารสนเทศ ซอฟท์แวร์ และฮาร์ดแวร์ ที่จำเป็น มีคุณภาพ และพร้อมใช้งาน สำหรับบุคลากร / ผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน องค์กรสร้างและจัดการสินทรัพย์ความรู้ของตนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์กร ก. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ค. คุณภาพ ข้อมูล/ความรู้ บุคลากร/ผู้บริหาร ผู้ป่วย/ผู้รับผลงาน องค์กรภายนอก ความต้องการ 1 2 รักษาความลับ ออกแบบ จัดการ ข้อมูลพร้อมใช้ ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ทันการณ์ ปลอดภัย 2 Hardware & Software เข้าถึง การดูแลผู้ป่วย การบริหารจัดการ การตรวจสอบทางคลินิก การพัฒนาคุณภาพ การศึกษา และการวิจัย เชื่อถือได้ ป้องกันข้อมูลรั่วไหล ใช้งานง่าย 1 ใช้ประโยชน์ 3 พร้อมใช้ในภาวะฉุกเฉิน ข. การจัดการความรู้ 4 ปรับปรุงกลไกและระบบ รวบรวม/ถ่ายทอดความรู้ของบุคลากร ถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติที่ดี นำสู่การปฏิบัติ นำหลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ทันความต้องการ ทิศทางบริการสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี

89 I – 5.2 สภาพแวดล้อมของบุคลากร (Staff Environment)
องค์กรบริหารขีดความสามารถและอัตรากำลัง เพื่อให้งานขององค์กรบรรลุผลสำเร็จ องค์กรจัดให้มีสภาพแวดล้อมในการทำงานและบรรยากาศที่สนับสนุนให้บุคลากรมีสุขภาพดี และมีความปลอดภัย ก. ขีดความสามารถและความเพียงพอ ประเมินความต้องการ กำหนด/มอบหมายหน้าที่ ขีดความสามารถ อัตรากำลัง 1 ค. สุขภาพบุคลากร สรรหา ว่าจ้าง จัดวาง ธำรงรักษา ตรวจสอบ/ประเมินคุณสมบัติ 2 1 ดูแลสุขภาพตนเอง เรียนรู้ ตัดสินใจ ปฏิบัติ ใช้ประโยชน์จากความเชี่ยวชาญพิเศษขององค์กร, มุ่งเน้นผู้ป่วย, ผลงานเป็นไปตามความคาดหวัง, คล่องตัว 2 เป็นแบบอย่างพฤติกรรม มีข้อตกลงร่วมกัน 3 บริหาร/จัดระบบ บุคลากร 3 ป้องกันความเสี่ยงจากการทำงาน 4 เตรียมให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง TB, HBV, HIV, Sharp Inj, Lab Chemicals, Anesthetic Gas, Chemotherapeutic Agent 4 ประเมินสุขภาพเมื่อแรกเข้าทำงาน ข. บรรยากาศในการทำงาน ความสำเร็จ ขององค์กร 5 ตรวจสุขภาพเป็นระยะ ที่ทำงานเอื้อต่อสุขภาพ/ ความปลอดภัย 1 6 ได้รับภูมิคุ้มกันโรค สุขภาพดี ปลอดภัย นโยบาย การจัดบริการ สิทธิประโยชน์ 7 2 ดูแลและเกื้อหนุน ดูแลเมื่อเจ็บป่วย/สัมผัสเชื้อ

90 I – 6.1 การออกแบบระบบงาน (Work Systems Design)
องค์กรกำหนดงานที่เป็นความเชี่ยวชาญพิเศษของตน ออกแบบระบบงาน และกระบวนการสำคัญ เพื่อส่งมอบคุณค่าให้แก่ผู้ป่วย / ผู้รับผลงานอื่นๆ พร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน และบรรลุความสำเร็จขององค์กร ก. ความเชี่ยวชาญพิเศษขององค์กร ข. การออกแบบกระบวนการทำงาน กำหนดความเชี่ยวชาญพิเศษขององค์กร 1 กำหนดกระบวนการสำคัญ กระบวนการจัดบริการสุขภาพ กระบวนการทางธุรกิจ/การดูแลกิจการ กระบวนการสนับสนุน 1 ออกแบบ / นวตกรรม ระบบงานโดยรวม 2 ส่งมอบคุณค่าแก่ผู้รับผลงาน ความสำเร็จขององค์กร ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้ส่งมอบ, คู่พันธมิตร 2 ข้อกำหนด/ความคาดหวัง ของกระบวนการ ผ้ป่วย, ผู้รับผลงานอื่นๆ ค. ความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน ความปลอดภัย, กฎหมาย ข้อมูลวิชาการ, มาตรฐานวิชาชีพ เทคโนโลยีใหม่, ความรู้ขององค์กร ผลลัพธ์ที่ดีขึ้น, ประสิทธิภาพ, ประสิทธิผล 3 ออกแบบ / นวตกรรม กระบวนการ พร้อมรับภัยพิบัติ / ภาวะฉุกเฉิน

91 II – 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ
(Risk, Safety, and Quality Management System) มีระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ ของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผลและประสานสอดคล้องกัน รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ ก. ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย 1 ประสาน ระบบที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยง และระบบสารสนเทศ 6 ประเมิน ประสิทธิผล ปรับปรุง แก้ปัญหา 3 5 4 ค้นหาและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง กำหนดมาตรการป้องกัน, สื่อสาร, สร้างความตระหนัก ระบบรายงานอุบัติการณ์ รายงาน วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์ วิเคราะห์สาเหตุ 2 1 พัฒนาคุณภาพการดูแล สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทบทวนการดูแลผู้ป่วย กำหนดกลุ่ม/วัตถุประสงค์ กำหนด KPI ใช้วิธีการที่หลากหลาย 2 ข. คุณภาพการดูแลผู้ป่วย 3 4

92 II – 3.1 สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความปลอดภัย
(Physical Environment and Safety) สิ่งแวดล้อมทางกายภาพขององค์กรเอื้อต่อความปลอดภัยและความผาสุกของผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ และผู้มาเยือน องค์กรสร้างความมั่นใจว่าผู้อยู่ในพื้นที่อาคารสถานที่จะปลอดภัยจากอัคคีภัย วัสดุและของเสียอันตราย หรือภาวะฉุกเฉินอื่นๆ ก. ความปลอดภัยและสวัสดิภาพ ค. การจัดการกับภาวะฉุกเฉิน 1 โครงสร้างอาคารสถานที่ 1 วิเคราะห์ ระบบบริหารอาคารสถานที่และ รปภ. การตรวจสอบเพื่อค้นหาความเสี่ยง 2 3 2 ทำแผน -> ปฏิบัติ การฝึกซ้อม 3 การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม 4 5 การฝึกอบรม ง. ความปลอดภัยจากอัคคีภัย 1 จัดทำแผนและนำไปปฏิบัติ ข. วัสดุและของเสียอันตราย ความปลอดภัย ความผาสุก ของผู้ป่วย และเจ้าหน้าที่ 2 สร้างความตระหนัก/ฝึกซ้อม กระบวนการที่ปลอดภัย เลือก สัมผัส จัดเก็บ เคลื่อนย้าย ใช้ กำจัด 3 บำรุงรักษาระบบและเครื่องมือ

93 II – 3.2 เครื่องมือและระบบสาธารณูปโภค (Equipment and Utility System)
องค์กรสร้างความมั่นใจว่ามีเครื่องมือที่จำเป็น พร้อมใช้งานทำหน้าที่ได้เป็นปกติ และมีระบบสาธารณูปโภคที่จำเป็นอยู่ตลอดเวลา ก. เครื่องมือ ข. ระบบสาธารณูปโภค แผนบริหารเครื่องมือ -> ปฏิบัติ (ได้ผล ปลอดภัย เชื่อถือได้) คัดเลือก / จัดหา, จัดทำบัญชีรายการ, ตรวจสอบ ทดสอบ และบำรุงรักษา, ให้ความรู้ผู้ใช้, แนวทางปฏิบัติเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน แผนบริหารระบบสาธารณูปโภค -> ปฏิบัติ (ได้ผล ปลอดภัย เชื่อถือได้) จัดทำบัญชีรายการ, แผนผังตำแหน่งที่ตั้ง, ตรวจสอบ ทดสอบ และบำรุงรักษา, แนวทางปฏิบัติฉุกเฉิน, ระบบปรับและระบายอากาศ 1 1 เครื่องมือที่จำเป็นมีความพร้อมใช้ ระบบไฟฟ้าสำรองในจุดที่จำเป็น บำรุงรักษา ทดสอบ ตรวจสอบ 2 2 3 ติดตามข้อมูลเพื่อปรับปรุง / จัดหาทดแทน 3 ติดตามข้อมูลเพื่อปรับปรุง / จัดหาทดแทน ระบบที่พร้อมใช้การ เชื่อถือได้ ปลอดภัย

94 II – 3.3 สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
(Environment for Health Promotion and Environment Protection) องค์กรแสดงความมุ่งมั่นในการที่จะทำให้โรงพยาบาลเป็นสถานที่ที่ปลอดภัยและเอื้อต่อสุขภาพ เอื้อต่อกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ก. การสร้างเสริมสุขภาพ ข. การพิทักษ์สิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ระบบบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ ขนาดเหมาะสม ผู้ดูแลมีความรู้ ตรวจคุณภาพน้ำ น้ำทิ้งมีค่ามาตรฐาน 1 1 สิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะ 2 ลดปริมาณของเสีย นำมาใช้ใหม่ ลดปริมาณการใช้ แปรรูป ลดการใช้วัสดุที่ทำลายสิ่งแวลด้อม 2 3 การเข้าถึงผลิตภัณฑ์สร้างเสริมสุขภาพ 4 ใช้วัสดุครุภัณฑ์ที่ไม่มีอันตรายต่อสุขภาพ กำจัดขยะถูกสุขลักษณะ ภาชนะ แยกรับ ขนย้าย ที่พักขยะ กระบวนการกำจัด ฝึกอบรม ตรวจสอบ 3 รพ.เป็นสถานที่ที่ปลอดภัย เอื้อต่อสุขภาพ เอื้อต่อกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ พิทักษ์สิ่งแวดล้อม พิทักษ์ ปกป้อง ปรับปรุง สิ่งแวดล้อม ร่วมมือกับชุมชน ประเมินและรับฟังเสียงสะท้อน 4

95 การสอบเทียบเครื่องมือแพทย์

96 ความสำคัญของการสอบเทียบ
เพื่อให้มีผลที่ได้รับตรงกัน

97 การสอบเทียบ ไม่ได้ทำให้เครื่องมือของท่าน ดีขึ้นกว่าเดิมแม้แต่หน่อยนิด แต่อาจทำให้เครื่องมือที่ผ่านกระบวนการสอบเทียบเพียงอย่างเดียว แย่ลงกว่าเดิมเสียด้วยซ้ำ 16/09/61

98 การสอบเทียบ คือ กระบวนการในการตรวจสอบความถูกต้อง ของเครื่องมือ ด้วยวิธีการเปรียบเทียบกับ กับค่าจริงของสิ่งที่ถูกวัด ที่อ่านจากเครื่องวัด มาตรฐาน

99 องค์ประกอบของการสอบเทียบ
- ตัวมาตรฐานการวัด - วิธีการวัด - ผู้ปฏิบัติการ - ห้องปฏิบัติการ - สภาวะแวดล้อม

100 สภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อการวัด
อุณหภูมิ (Temperatute) การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ (Rate of Change of Temperature) ความชื้น (Humidity) ความดัน (Pressure) การสั่นสะเทือน (Vibration) การรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Interference)

101 การทวนสอบ (Verification)
คือ วิธีการยืนยันความถูกต้อง ของเครื่องมือ ที่ผ่านกระบวนการสอบเทียบมาแล้ว โดยการตรวจสอบค่าซ้ำด้วยวิธีใดๆ ก็ตามก่อนครบรอบการสอบเทียบ โดยต้องมีหลักฐานแสดงถึงวิธีการทวนสอบ ว่าเป็นการกระทำตามข้อกำหนดที่ระบุไว้

102 ประโยชน์ของการสอบเทียบ
การสอบเทียบทำให้ผลของการวัดแม่นยำ และเชื่อถือได้ การสอบเทียบส่งผลให้ผลการวัด การทดสอบ การวิเคราะห์เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป การสอบเทียบทำให้เกิดความเป็นธรรมในการให้บริการ การสอบเทียบส่งผลทำให้เกิดความสงบสุขในสังคม การสอบเทียบทำให้ชิ้นส่วนในการผลิต เข้ากันได้พอดี ผลการสอบเทียบนำมาประยุกต์ใช้เป็นค่าปรับแก้ (correction) เพื่อชดเชยค่าความคลาดเคลื่อนของค่าที่อ่านของเครื่องมือวัด ทำให้ผลการวัดแม่นยำขึ้นในกรณีจำเป็น การสอบเทียบเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์

103 เครื่องมือใดที่ต้องสอบเทียบ

104 ผลการวัดของเครื่องมือนั้นกระทบต่อคุณภาพของผลการวินิจฉัย หรือรักษา
เครื่องมือใด ที่ไม่มีผลกระทบต่อคุณภาพของการวินิจฉัย หรือรักษา อาจไม่จำเป็นต้องใช้กระบวนการสอบเทียบ เมื่อมีเหตุผลที่จำเป็นต้องมั่นใจในค่าของเครื่องมือ เช่น เรื่องของความปลอดภัย

105 เครื่องมือแพทย์ใดบ้าง ที่จำเป็นต้องสอบเทียบ

106 เครื่องมือแพทย์ใดบ้างที่ต้องสอบเทียบ
เครื่องมือแพทย์ทุกเครื่องต้องมีความแม่นยำและเที่ยงตรง การให้ได้มาซึ่งความแม่นยำและเที่ยงตรง ไม่จำเป็นต้อง ใช้วิธีการ หรือกระบวนการสอบเทียบเสมอไป เครื่องมือแพทย์ที่ยอมรับค่าผิดพลาดที่มากได้ อาจใช้ วิธีการทวนสอบ หรือเทียบเคียงค่าก็ยอมรับได้ แต่เครื่องมือแพทย์ที่มีความเสี่ยงสูง โดยเฉพาะเสี่ยงต่อการ วินิจฉัยหรือรักษาที่ผิดกรณีเครื่องไม่มีความเที่ยงตรง ต้องได้รับการสอบเทียบ

107 เมื่อใดต้องสอบเทียบ

108 เมื่อใดต้องสอบเทียบ 1. ควรสอบเทียบให้บ่อย พอที่จะสร้างความแน่ใจว่าผลการวัดใกล้ค่าจริงมากที่สุด 2. การสอบเทียบต้องกระทำเป็นระยะ ๆ เช่น ทุก 6 เดือน หรือ 12 เดือน ฯ 3. วงรอบเวลาในการสอบเทียบ อาจจะกำหนดโดยอาศัยประสบการณ์ หรือ ข้อมูลอื่น ๆ ที่มีอยู่ 4. ทุกครั้งหลังมีการซ่อม/ปรับแต่งเครื่อง

109 สรุปผลจากการสอบเทียบที่มีประสิทธิผล
ตัวอย่าง : ไม่ว่านาย ก.(ผู้ป่วย) จะชั่งน้ำหนักตัว จากเครื่องชั่งน้ำหนักเครื่องไหน ณ จุดไหน ของโรงพยาบาล โดยที่ผู้บันทึก สามารถบันทึก น้ำหนักตัวของนาย ก. ได้ค่าเดียวกัน หรือใกล้เคียงกันมากที่สุด 16/09/61


ดาวน์โหลด ppt โครงการจัดระบบ ดูแลรักษา เครื่องมือทางการแพทย์และสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google