งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
และ การประกันคุณภาพการพยาบาล * สารา วงษ์เจริญ สำนักการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข (๑๐,๑๑ มกราคม ๒๕๕๑ กทม.)

2 คุณภาพ : สิ่งที่ปรารถนา ประกอบด้วย. - ปราศจากข้อผิดพลาด (Zero defect)
คุณภาพ : สิ่งที่ปรารถนา ประกอบด้วย - ปราศจากข้อผิดพลาด (Zero defect) - ได้มาตรฐาน (Standard) - ผู้ใช้บริการพึงพอใจ (Satisfaction) - พัฒนาสู่ความเป็นเลิศอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement)

3 (QUALITY OF NURSING CARE)
คุณภาพการพยาบาล (QUALITY OF NURSING CARE) ...คือ... ระดับปฏิบัติการ หรือกิจกรรมการพยาบาลที่ได้ตาม มาตรฐานและสามารถตอบสนองความต้องการและ ความคาดหวังของประชาชน/ผู้ใช้บริการ

4 การพยาบาล ผลลัพธ์ที่คาดหวัง Equity Service Quality Self Care Efficiency Healthy Family Work Place Community Healthy Thailand

5 ทั้งในสถานพยาบาล และชุมชน จนสามารถ ประกัน คุณภาพได้
เป้าหมายของการบริการ ทั้งในสถานพยาบาล และชุมชน จนสามารถ ประกัน คุณภาพได้ เน้น คุณภาพ OUTCOME ของบริการ ตัวชี้วัดคุณภาพที่ชัดเจน

6 ระบบรับรองคุณภาพในปัจจุบัน
๏ ISO ๏ HA : ปี 2006 ปรับปรุงใหม่ ใช้กรอบของ TQA / PMQA ๏ TQA (Thailand Quality Award) ๏ PMQA (Public Management Quality Award) ๏ HNQA (Hospital Network Quality Award) ฯลฯ

7 พัฒนาการของแนวคิดการพัฒนาคุณภาพ และเกณฑ์รางวัลคุณภาพ
MBNQA , 1987 TQA,2002/2545 PMQA,2549/2550

8 แนวคิดของเกณฑ์ PMQA หลักเกณฑ์และแนวคิดตามรางวัลคุณภาพของ USA
(Malcolm Baldrige National Quality Award : MBNQA) และ รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย (Thailand Quality Award : TQA) เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA)

9 1 การนำองค์กร 1 การนำองค์กร
TQA/PMQA 7 หมวด หมวด TQA หมวด PMQA 1 การนำองค์กร การนำองค์กร 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3 การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด การให้ควาสำคัญกับผู้ใช้บริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4 การวัด การวิเคราะห์ และ การวัด การวิเคราะห์ การ การจัดการความรู้ จัดการสารสนเทศและความรู้ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6 การจัดการกระบวนการ การจัดการกระบวนการ 7 ผลลัพธ์ทางธุรกิจ ผลลัพธ์การดำเนินงาน

10 เหตุผลการนำ PMQA มาใช้ในการจัดทำเกณฑ์
เป็นมติของคณะรัฐมนตรี เมื่อ 28 มิถุนายน เห็นชอบ ให้นำการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาใช้ ตามข้อเสนอของ ก.พ.ร. เพื่อเป็นเครื่องมือผลักดันให้การ พัฒนาระบบราชการมีประสิทธิภาพ ยั่งยืน และยกระดับ คุณภาพการทำงานไปสู่ระดับมาตรฐานสากล (High Performance) โดย 1. ใช้เป็นกรอบในการประเมินตนเอง 2. เป็นแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กร เพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานการทำงานสู่ระดับสากล

11 PMQA แบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ
1. ลักษณะสำคัญขององค์กร 2. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

12 และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ลักษณะสำคัญขององค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินงาน 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เกณฑ์ 7 หมวด ที่มีความเชื่อมโยงในเชิงระบบ

13 ระบบที่จำเป็นในการพัฒนาคุณภาพ
การบริหาร/การจัดการ การพัฒนาบุคลากร การปรับปรุงกระบวนการทำงาน การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) การจัดการโครงสร้างพื้นฐาน การประเมินคุณภาพ

14 ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพ. - Man/Human Resource. - Money. - Material
ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพ - Man/Human Resource - Money - Material - Management

15 การบริหารจัดการ คุณภาพ การพยาบาล ผู้บริหาร การพยาบาล ผู้ปฏิบัติ การพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาล

16 เครื่องมือและวิธีการพัฒนาคุณภาพ. 1. มาตรฐานการพยาบาล
เครื่องมือและวิธีการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานการพยาบาล (Nursing Standard) 2. การประกันคุณภาพการพยาบาล (Nursing Quality Assurance) © การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง © การนิเทศ การประเมินผล

17 มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
ที่สภาการพยาบาล กำหนด มาตรฐานที่องค์กรรับรอง คุณภาพกำหนด มาตรฐาน ที่สำนักการพยาบาลกำหนด นโยบายของสถานพยาบาล

18 วงจรการประกันคุณภาพการพยาบาลและการปรับปรุงคุณภาพต่อเนื่อง
การประกันคุณภาพ Quality Assurance การปฏิบัติตาม มาตรฐาน/ระบบ การวัดและประเมินคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง การกำหนดมาตรฐาน/การวางระบบ การแก้ไขข้อบกพร่อง และการปรับปรุงคุณภาพ การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Continuous Quality Improvement)

19 การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
เป็นวิธีการจัดการคุณภาพ ภายใต้ระบบประกันคุณภาพ ความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ ความปลอดภัยของผู้ให้บริการ

20 CQI Process Critical Incidents Peer Record Continuous Review
Quality Improvement Consumer Satisfaction

21 เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
การนิเทศการพยาบาล คือ การช่วยทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้รับการนิเทศเป็น เป้าหมายแรก โดยยึดถือผลผลิตของงาน เป็นอันดับ รองลงมา “ไม่หวังเพียงให้งานบรรลุเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานเท่านั้น แต่ยังต้องสนับสนุนให้เกิดการ เรียนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องอีกด้วย”

22 การนิเทศงานประกันคุณภาพการพยาบาล
การกระตุ้น ส่งเสริม สนับสนุน ติดตาม เฝ้าระวัง และประเมินผล คุณภาพงานการพยาบาล เพื่อการพัฒนาคุณภาพต่อเนื่อง

23 กระบวนการ 1 2 3 พัฒนาศักยภาพผู้นิเทศ
จัดระบบนิเทศประเมินคุณภาพภายในโรงพยาบาล ขยายผลเพิ่มจำนวนผู้นิเทศ 1 ประเมินซ้ำ แต่ละหน่วยบริการประเมินตนเอง ผู้ประเมินจากภายนอก (ข้ามหน่วยงาน/กก.กลาง 2 ขณะนี้เราทำได้ดีเพียงใด เพื่อยืนยัน 3 เสนอแนะ ประเมินซ้ำ ปรับปรุงให้ดีขึ้น เทียบเคียงกับหน่วยอื่น( Benchmarking)

24 10 steps Assign Responsibility 2. Delineat Scope of care 10.
1. Assign Responsibility 2. Delineat Scope of care 10. Communicate Result 3. Identify Important Aspect of care & Standard 9. Monitoring&Re-evaluate 4 .Determine Indicator 8. Collective action &Improve 5 .Establish Threshold 7. Analyzing & Evaluate care 6. Collecting & Organizing data

25 3C - PDSA กรอบความคิดรวบยอดในการพัฒนาคุณภาพของ HA
หลักคิดสำคัญ (Core Values & Concepts) ทบทวน ประเมิน เรียนรู้ Root cause ตัวชี้วัด Study/Learning ทำความเข้าใจ เป้าหมายของมาตรฐาน Do Act/Improve เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ เกณฑ์/มาตรฐาน (criteria/standard) ปรับปรุง Plan/Design ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการสำคัญ ออกแบบระบบ บริบท(context)

26 3C คือ ตัวกำกับที่ทำให้การลงมือทำเกิดประโยชน์และบรรลุเป้าหมาย
Core values and Concepts (หลักคิดสำคัญ) “ สิ่งที่ยอมรับกันว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่า จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร ผู้ปฏิบัติงานและผู้รับผลงาน” Context (บริบทหรือสภาพแวดล้อม) จะนำไปสู่ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ และ ความต้องการที่สำคัญ Criteria/Standards (เกณฑ์หรือมาตรฐาน) จะนำไปสู่เป้าหมาย วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดต่าง ๆ

27 P = Plan/Design (การออกแบบระบบ) : HA
ควรใช้หลัก 6 หลัก 1. รู้ความเสี่ยง ควรจัดลำดับความสำคัญ จัดการที่สำคัญก่อน 2. เลี่ยงความยาก ใช้หลักเรียบง่าย คิดสร้างสรรค์ ไม่ติดกรอบและรูปแบบ เรียนรู้ความสัมพันธ์ของคนทำงานกับสิ่งแวดล้อมและเครื่องมือ 3. มากคุณค่า การใส่ใจกับสิ่งที่จะทำว่าจะมีคุณประโยชน์ต่อผู้รับผลงานอย่างไร อยากเห็นอะไร จะเกิดสิ่งที่อยากเห็นหรือไม่ 4. อย่ายึดติด อย่าติดรูปแบบ อย่าเลียนแบบ กล้าทำ/ทดลองสิ่งใหม่ 5. เป้าหมายชัด ต้องชัดทั้งในกระดาษที่เขียนและชัดในใจของคนทำงานว่าทำไป เพื่ออะไร 6. วัดผลได้ ควรใช้วิธีการเชิงคุณภาพประเมินในภาพรวมก่อน แล้วค่อยหา ตัวชี้วัดที่เป็นตัวเลขมายืนยัน ควรคำนึงถึงการวัดและประเมินผลไปควบคู่กัน

28 D = Do/Action (การนำไปปฏิบัติ) : HA
หัวใจสำคัญ 2 อย่าง คือ 1. ติดอาวุธ (Empower) 3 ด้าน คือ * ทางปัญญา ด้วยการสื่อสาร ให้ข้อมูล ฝึกอบรม * การลงมือทำ ด้วยการสนับสนุนทรัพยากร เวลา และอำนาจการตัดสินใจ * เชื้อเพลิง ให้กำลังใจอย่างต่อเนื่อง 2. AAR (After Action Review) เป็นการทบทวนหลังเสร็จสิ้นภารกิจย่อย ๆ ทุกครั้งว่า * บรรลุสิ่งที่ตั้งใจไว้หรือไม่ * อะไรคือสิ่งที่ดีที่ควรเอาไปใช้ต่อให้มากขึ้น * อะไรคือสิ่งที่ควรปรับปรุงครั้งต่อไป

29 (การทบทวน ตรวจสอบ ประเมิน เรียนรู้) : HA
S = Study/Learning เรียนรู้ได้จาก 1. แลกเปลี่ยนกับคนอื่น 2. เอาข้อมูลต่าง ๆ ที่จัดเก็บมาวิเคราะห์ แปลความ ทำความเข้าใจ เพื่อพัฒนา ระบบการวัดและจุดประกายการพัฒนา 3. เสียงสะท้อนของผู้รับผลงานทั้งภายในและภายนอก 4. ตามรอย (ติดตาม) คุณภาพทางคลินิกอย่างต่อเนื่อง 5. ตรวจสอบการบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ทั้งของหน่วยงาน/ทีมงาน/ องค์กร 6. ประเมินภาพรวมทั้งระบบงานขององค์กรว่ามีปัญหาที่หน่วยงานหรือ ระบบงานใด 7. ตรวจสอบระดับการนำมาตรฐานขององค์กรมาสู่การปฏิบัติ เพื่อเห็นโอกาส ยกระดับกระบวนการพัฒนา

30 A = Act/Improvement (การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง)
การพัฒนาที่ดีจะต้องประสานแนวคิดและเครื่องมือการพัฒนาทุกอย่างมาใช้พร้อม ๆ กัน เพื่อติดตาม KPI ที่สำคัญไปสู่การพัฒนา KPI Monitoring Creativity and Innovation Multidisciplinary Team เป้าหมายการ ดูแลผู้ป่วย Benchmarking Holistic Care Bedside/Medical Record Review Evidence - based Practice Root Cause Analysis from Evidence

31 การประยุกต์วงจรประกันคุณภาพการพยาบาล (10 ขั้นตอน) เข้ากับ PDSA ของ HA
1. การวางระบบงานและการกำหนดมาตรฐานการพยาบาล (Plan) ขั้นตอนที่ 1 การมอบหมายผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 2 กำหนดขอบเขตของการบริการพยาบาล ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดประเด็นสำคัญของบริการพยาบาลและ การกำหนดมาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติและแผนงาน พัฒนาคุณภาพ ขั้นตอนที่ 4 การำหนดตัวชี้วัดคุณภาพและเกณฑ์ระดับคุณภาพ ที่ยอมรับได้ 2. การปฏิบัติตามระบบงาน/ มาตรฐานการพยาบาลที่กำหนด (Do) ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติตาม แผนงาน/มาตรฐานและ แนวทางที่กำหนด รวมทั้งการนิเทศ/ ติดตามการปฏิบัติ ตามแผน 4. การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องและพัฒนา คุณภาพการพยาบาลในชุมชนอย่างต่อเนื่อง (Act) ขั้นตอนที่ 8 การแก้ไขข้อบกพร่องและการ ปรับปรุงคุณภาพการพยาบาล ขั้นตอนที่ 9 การเฝ้าระวังและประเมินผลคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง ขั้นตอนที่10 การรายงานผลการประกันคุณภาพ การพยาบาล 3. การวัดและประเมินคุณภาพการพยาบาล อย่างต่อเนื่อง (Study) ขั้นตอนที่ 6 การรวบรวมข้อมูลและการจัดการ ข้อมูล ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะห์และประเมินผล คุณภาพกาพรยาบาล

32 การประกันคุณภาพการพยาบาล 10 ขั้นตอน
การประกันคุณภาพการพยาบาล 10 ขั้นตอน ระยะที่ 1 การวางระบบงานและการกำหนดมาตรฐานการพยาบาล (Plan) ขั้นตอนที่ 1 การมอบหมายผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน

33 โครงสร้างการดำเนินงาน QA การพยาบาล กลุ่มการพยาบาล
หัวหน้าพยาบาล คณะกรรมการประกันคุณภาพการพยาบาล ในกลุ่มการพยาบาล * พัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพระบบการบริหารการพยาบาล * สนับสนุนการดำเนินงานการประกันคุณภาพการพยาบาล ในหน่วยงาน * ประมวลผลภาพรวมของงานการประกัน คุณภาพ การพยาบาลของกลุ่มการพยาบาล คณะทำงานประกันคุณภาพ การพยาบาลระดับหน่วยงาน* * ดำเนินการประกันคุณภาพการพยาบาล ในหน่วยงาน * ร่วมมือกับคณะทำงานประกันคุณภาพ การพยาบาลในหน่วยงานอื่น ๆ * รายงานผลไปยังคณะกรรมการ ประกันคุณภาพการพยาบาล คณะผู้ประสานงานการประกัน คุณภาพการพยาบาลในกลุ่มการพยาบาล * ประสานความร่วมมือระหว่างคณะทำงานประกันคุณภาพ การพยาบาลระดับหน่วยงานแต่ละหน่วย * สนับสนุนทางวิชาการ

34 คุณสมบัติผู้ประสานงาน QA
1. เป็นผู้ที่มีทักษะในการติดต่อสื่อสาร และมีมนุษย์สัมพันธ์ดี 2. เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถเชิงวิชาชีพ 3. เป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

35 ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดขอบเขตของการบริการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดขอบเขตของการบริการพยาบาล * เพื่อให้แต่ละหน่วยงานสามารถเลือกหรือระบุได้ว่า ควรมีการดำเนินการประกันคุณภาพหรือเฝ้าระวัง คุณภาพด้านใด “อะไรคืองานหรือบริการพยาบาลที่สำคัญ ที่หน่วยงานเราจัดให้แก่ผู้ใช้บริการ” เช่น จะประกันคุณภาพการพยาบาลผู้ป่วยนอก ประเด็นอะไร, ผู้ป่วยสูงอายุ ประเด็นอะไร ฯลฯ

36 ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดประเด็นสำคัญของการบริการ/กำหนดมาตรฐาน/
ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดประเด็นสำคัญของการบริการ/กำหนดมาตรฐาน/ แนวทางปฏิบัติ 3.1 การระบุประเด็นสำคัญของการบริการพยาบาล หมายถึงการกำหนดประเด็นสำคัญที่หน่วยงานต้องการปรับปรุงคุณภาพ/จำเป็นต้องปรับปรุงและประกันคุณภาพก่อน (โดยจัดลำดับความสำคัญ) ใช้เกณฑ์ตาม JCAHO, :- * High risk : การปฏิบัติการดูแลนั้น ๆ หากไม่มีมาตรฐานปฏิบัติงานที่ชัดเจน จะส่งผลกระทบ/เสียหาย/บาดเจ็บ/เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ/เจ้าหน้าที่ * High volume : การปฏิบัติใด ๆ ที่ต้องปฏิบัติเป็นประจำ มีผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ เรื่องนั้น ๆ จำนวนมาก * Problem prone : การปฏิบัตินั้น ๆ มีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดปัญหากับผู้ใช้ บริการ/เจ้าหน้าที่/ระบบการทำงาน * High cost : การปฏิบัตินั้น ๆ มีค่าใช้จ่ายสูง ถ้าไม่มีมาตรฐานวิธีปฏิบัติ จะทำให้ได้รับผลไม่คุ้มค่า

37 ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญของการปฏิบัติที่มีลักษณะ : High Risk
แนวทางการเลือกประเด็นสำคัญ ตัวอย่างประเด็นสำคัญ 1. เลือกจากเรื่องที่มีความเสี่ยงสูง (High risk) - การป้องกันการติดเชื้อ - การดูแลผิวหนังผู้ป่วยเบาหวานที่เสี่ยงต่อการ เกิดแผล - การให้ยา/ให้เลือด - การช่วยฟื้นคืนชีพ - การทำ Invasive procedure ต่าง ๆ - การระบุตัวผู้ป่วยที่ไม่ทราบชื่อ - การประเมินผู้ป่วย High Risk Pregnancy - การให้การระงับความรู้สึก ฯลฯ

38 ตัวอย่าง ประเด็นสำคัญของการปฏิบัติที่มีลักษณะ : High Volume
แนวทางการเลือกประเด็นสำคัญ ตัวอย่างประเด็นสำคัญ 2. เลือกจากเรื่องที่มีปริมาณในการปฏิบัติ กิจกรรมการดูแลเป็นจำนวนมาก (High volume) การประเมินคัดกรองผู้ป่วยนอก - การประเมินคัดกรองอาการผู้ป่วยในงานอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน - การเฝ้าระวังสังเกตอาการผู้ป่วยระหว่างการดูแล - การส่งผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัย (Investigation) หรือการส่ง Specimen เพื่อตรวจทางห้องทดลอง - การสอนการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยและครอบครัว - การจัดการความปวด หรือบรรเทาอาการรบกวนอื่น ๆ - การปฏิบัติตาม Standard Precautions ของเจ้าหน้าที่ - การบริหารยา (Drug Administration) - การบันทึกทางการพยาบาล ฯลฯ

39 ขอบเขตบริการพยาบาลและประเด็นสำคัญของการปฏิบัติที่จะดำเนินการประกันคุณภาพหรือเฝ้าระวังคุณภาพ เช่น ขอบเขตบริการพยาบาล : ผู้ป่วยสูงอายุในคลินิคเฉพาะ ประเด็นสำคัญ : การดูแลผิวหนัง การป้องกันอันตราย และการบาดเจ็บ ฯลฯ ตัวอย่าง

40 การกำหนดขอบเขตและประเด็นตามหน้าที่หลักทางคลินิกของพยาบาลวิชาชีพ (7 major aspects of care)
1. การประเมินผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการ (Assessment) * การประเมินปัญหา การติดตามเฝ้าระวัง ตั้งแต่รับจนจำหน่าย * การรวบรวมข้อมูลอย่างครบถ้วนตามมาตรฐานการดูแลและ เพียงพอ 2. การจัดการอาการรบกวนต่าง ๆ (Symptom Distress Management) ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ได้แก่ อาการที่คุกคามชีวิตและอาการ รบกวน ความสุขสบาย 3. การดูแลความปลอดภัย (Provision for Patient Safety) * จัดการให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย * จัดการดูแลอุปกรณ์เครื่องมือให้เพียงพอ พร้อมใช้ * จัดการ/ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานตามมาตรฐาน/แนวทาง

41 การกำหนดขอบเขตและประเด็นตามหน้าที่หลัก(ต่อ)
4. การป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างรักษาพยาบาล (Prevention of Complication) เช่น อันตรายจากการให้ยา ให้เลือด ฯลฯ 5. การให้การดูแลต่อเนื่อง (Continuing of Care) เช่น การเฝ้าสังเกต อาการต่อเนื่อง การส่งต่อเพื่อการดูแล ฯลฯ 6. การสนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ใช้บริการและครอบครัว (Facilitation of Patient and Family Self Care) เช่น การให้ความรู้ การฝึกทักษะที่จำเป็น การให้ข้อมูลต่าง ๆ ฯลฯ 7. การสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการ (Enhancement of Patient Satisfaction) เช่น การสร้างสัมพันธภาพ การเอาใจใส่ การสร้าง ความเชื่อมั่นแก่ผู้ใช้บริการ ฯลฯ

42 ประเด็นสำคัญของการบริการพยาบาล แนวโน้มที่จะเกิดปัญหา มาก น้อย
ตัวอย่าง การคัดเลือกประเด็นสำคัญของการบริการพยาบาลตามหน้าที่หลักทางคลินิก ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม ประเด็นสำคัญของการบริการพยาบาล ปริมาณ มาก น้อย ความเสี่ยง มาก น้อย แนวโน้มที่จะเกิดปัญหา มาก น้อย การประเมิน การประเมินสภาพแรกรรับ การเฝ้าระวังสัญญาณชีพและการ เปลี่ยนแปลงอาการต่อเนื่อง การจัดการอาการรบกวน การดูแลทางเดินหายใจ การจัดการความปวด การจัดการความปลอดภัย การป้องกันการพลัดตกหกล้ม การป้องกันความผิดพลาดในการให้ยา การสนับสนุนการดูแลตนเองของผู้ป่วย และครอบครัว การสอนเพื่อการวางแผนการจำหน่าย x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x

43 ขั้นตอนที่ 3 (ต่อ) 3.1 การกำหนดมาตรฐาน/วิธีปฏิบัติงานและการวางระบบหรือแนวทางปฏิบัติตามมาตรฐานในประเด็นสำคัญของการบริการพยาบาล คัดเลือกประเด็นสำคัญ ร่วมกันกำหนดมาตรฐาน แนวทางปฏิบัติที่จำเป็น โดยดำเนินการดังนี้ 1) วิเคราะห์กระบวนการ/วิธีปฏิบัติปัจจุบันว่าสอดคล้องกับมาตรฐานการพยาบาลในโรงพยาบาลหรือไม่ และเป็นไปตามหลักวิชาการหรือไม่ ผลลัพธ์การปฏิบัติได้ตามเกณฑ์ชี้วัดในมาตรฐานหรือไม่

44 ขั้นตอนที่ 3 (ต่อ) 3.1 การกำหนดมาตรฐาน (ต่อ) 2) ถ้าสอดคล้องและผ่านเกณฑ์ให้ทบทวนบางส่วน ให้ทันสมัยหรือยกระดับให้สูงขึ้น 3) ถ้าพบว่าไม่สอดคล้องร่วมกันทบทวนจัดทำ แนวทางปฏิบัติใหม่ และให้ ทันสมัย ถูกหลักวิชาการ 4) วางแผนการนำมาตรฐานไปใช้ โดยชี้แจง และทำความเข้าใจ

45 คู่มือ /แนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานวิธีปฏิบัติ
* คู่มือการปฏิบัติงาน * ระเบียบปฏิบัติ * แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) * แนวทางการดูแลผู้ป่วย เช่น - Standard Nursing Care Plan - Clinical Nursing Practice Guideline - Care Map ฯลฯ

46 ขั้นตอนที่ 4. การกำหนดตัวชี้วัดคุณภาพและเกณฑ์ระดับคุณภาพ
ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดตัวชี้วัดคุณภาพและเกณฑ์ระดับคุณภาพ ที่ยอมรับได้ 4.1 หลักการกำหนดตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล (Joint Commission, 1988) ดูจาก 1. มาตรฐานการดูแลหรือมาตรฐานการปฏิบัติการ ทั้งโครงสร้าง กระบวนการและผลลัพธ์ 2. การศึกษาวิจัย/ข้อเสนอขององค์กรที่มีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมคุณภาพ/ทบทวนจากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3. สมาชิกในทีมพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาลร่วมกันกำหนดจากปัญหาและเป้าหมายของหน่วยงาน 4. ตัวชี้วัดเฉพาะอุบัติการณ์ที่ไม่พึงประสงค์หรืออันตรายร้ายแรง (Sentinel - event Indicators) ต้องต่ำมากหรือไม่เกิดขึ้นเลย เช่น การให้ยาผิด การให้เลือดผิดคน

47 ตัวอย่าง ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล
ตัวอย่าง ตัวชี้วัดคุณภาพการพยาบาล ข้อความมาตรฐาน ตัวอย่างตัวชี้วัด โครงสร้าง ทีมการพยาบาลมีความพร้อม ในการดูแลผู้ป่วย ตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ - สัดส่วนจำนวนพยาบาลวิชาชีพที่ได้อบรม CPR อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี ต่อจำนวน พยาบาลวิชาชีพทั้งหมด กระบวนการ พยาบาลวิชาชีพประเมิน ปัญหาและความต้องการของ ผู้ป่วยที่มารับบริการที่ OPD ครบถ้วน - สัดส่วนของผู้ป่วยนอกที่ได้รับการประเมิน ปัญหาและความต้องการอย่างครบถ้วน ตามมาตรฐานการประเมินต่อจำนวน ผู้ป่วย OPD ทั้งหมด ผลลัพธ์ ไม่มีภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกัน ได้ ขณะรับการรักษาพยาบาล - อุบัติการณ์การเกิดอันตรายจากความ ผิดพลาดในการให้ยา - สัดส่วนผู้ป่วย OPD ที่พลัดตกหกล้ม ขณะรอตรวจต่อจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด

48 ขั้นตอนที่ 4 (ต่อ) 4. 2 การกำหนดเกณฑ์ระดับคุณภาพที่ยอมรับได้ ดังนี้. 1
ขั้นตอนที่ 4 (ต่อ) 4.2 การกำหนดเกณฑ์ระดับคุณภาพที่ยอมรับได้ ดังนี้ 1. เป็นจริง/เป็นไปได้และตรวจสอบได้ 2. เป็นจุดเริ่มต้นประเมิน ตรวจสอบหรือทบทวน มีความสัมพันธ์กับมาตรฐานและตัวชี้วัด 3. เป็นขีดแบ่งระหว่างการมีหรือไม่มีการปฏิบัติกิจกรรมที่ระบุไว้ในมาตรฐาน 4. สูงหรือต่ำมาก ถ้าใช้สำหรับการวัดระดับบริการพยาบาลที่บ่งชี้ คุณภาพด้านที่สำคัญ เช่น การระบุตัวผู้ป่วยผิดคน, การให้เลือดผิดหมู่ 5. ปรับเปลี่ยนได้ตามผลการปรับปรุงและพัฒนา ไม่ใช่กำหนด ตามสภาพปัจจุบัน แต่ควรกำหนดให้ระดับคุณภาพสูงกว่า เพื่อใช้เป็นจุด เปรียบเทียบในการปรับปรุง (Benchmarking) ที่ควรพัฒนาไปให้ถึง เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่อง

49 II. ระยะที่ 2 การปฏิบัติตามระบบงาน/มาตรฐานการพยาบาล
II. ระยะที่ 2 การปฏิบัติตามระบบงาน/มาตรฐานการพยาบาล ที่กำหนด (Do) ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติตามระบบงาน/มาตรฐานการพยาบาล/ แนวทางที่กำหนด/การนิเทศติดตามการปฏิบัติ ตามแผน การปฏิบัติตามแผนการนำมาตรฐานไปปฏิบัติ โดย * ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมความพร้อม * นำมาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติสู่การปฏิบัติจริง * จัดหาและสนับสนุนทรัพยากรและการปฏิบัติ เช่น อบรม ฝึกทักษะและนิเทศ/ติดตามสนับสนุน * กำหนดระยะเวลาการนำไปใช้และประเมินผล

50 III. ระยะที่ 3 การวัดและประเมินคุณภาพการพยาบาล (Study)

51 ขั้นตอนที่ 6 การเก็บรวบรวมและการจัดการข้อมูล วางแผนเก็บข้อมูลดังนี้ 1. จำแนกข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวม 2. กำหนดแหล่งข้อมูลและวิธีการเก็บ 3. กำหนดเครื่องมือในการเก็บ 4. กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง 5. มอบหมายผู้ทำหน้าที่เก็บ

52 1. การจำแนกข้อมูลที่ต้องการเก็บ. 1
1. การจำแนกข้อมูลที่ต้องการเก็บ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดที่เป็นอัตราเปรียบเทียบ (Rate - based indicator) ข้อมูลที่รวบรวม คือ จำนวนเหตุการณ์ที่ต้องการวัดที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง กลุ่มประชาชกรที่ใช้ในการวัดเปรียบเทียบ X ค่าคงที่ 1.2 ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวชี้วัดที่เป็นอุบัติการณ์ที่ไม่ควรจะเกิดขึ้น/ไม่พึงประสงค์/อันตรายร้ายแรง (Sentinel - event indicators) ให้เก็บข้อมูลเป็นจำนวนครั้งของเหตุการณ์หรืออุบัติการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ในช่วงเวลาที่กำหนด

53 2. กำหนดแหล่งข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวม. 2. 1 แหล่งข้อมูล
2. กำหนดแหล่งข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวม แหล่งข้อมูล * ผู้ป่วย ครอบครัว บุคคลสำคัญของผู้ป่วย * ผู้ใช้บริการและชุมชน * เจ้าหน้าที่ทางการพยาบาล * แพทย์และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ * ผู้บริหารทางการพยาบาลและผู้บริหารโรงพยาบาล * เอกสาร รายงาน วิธีการเก็บรวบรวม ประเภทของการเก็บรวบรวม * แบบปัจจุบัน (Concurrent assessment) * แบบย้อนหลัง (Retrospective assessment) วิธีการเก็บรวบรวม * สังเกต * ตรวจสอบจากรายงาน * สอบถาม/สัมภาษณ์ * การทบทวนผู้ป่วย ฯลฯ

54 3. กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม
3. กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม * แบบฟอร์มที่ใช้เก็บรวบรวม เช่น แบบเฝ้าระวัง * แบบสังเกตการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่สำคัญ * แบบตรวจสอบคุณภาพการพยาบาลจากเอกสารบันทึกรายงานผู้ป่วย * แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ * Incident Report

55 4. การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง. 4
4. การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ใช้หลักการ 100% กรณีที่เป็นอุบัติการณ์ที่มีผลกระทบรุนแรง (Sentinel - event) ใช้ 5%หรือ 30 ราย โดยวิธีการสุ่ม ในกรณีกลุ่มประชากรมีขนาดใหญ่ เช่น สุ่มอย่างง่าย /จับฉลาก

56 พยาบาลวิชาชีพ/หัวหน้าหน่วยงาน
5. การมอบหมายผู้ทำหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลแบบปัจจุบัน หน่วยงานประเมินตนเอง พยาบาลวิชาชีพ/หัวหน้าหน่วยงาน เรียนรู้ ทำความเข้าใจกับมาตรฐานวิธีปฏิบัติ ปฏิบัติตามมาตรฐาน ประเมินตนเอง/ทีมงาน ปฏิบัติครบ/ไม่ครบ บันทึกผล ไม่ปฏิบัติ เกิดอุบัติการณ์ Peer review

57 หัวหน้าพยาบาล/ผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาล/ หัวหน้างานเฉพาะทาง
ประเมินและนิเทศตามสายงาน หัวหน้าพยาบาล/ผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาล/ หัวหน้างานเฉพาะทาง เรียนรู้ ทำความเข้าใจกับมาตรฐานหน่วยงาน กำหนดแผนการประเมิน/นิเทศ นิเทศ/ประเมิน ปฏิบัติครบ/ไม่ครบ บันทึกผล ไม่ปฏิบัติ เกิดอุบัติการณ์ Peer review

58 5. 2 การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบย้อนหลัง
5.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบย้อนหลัง เพื่อประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานตามแนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานวิธีปฏิบัติ และตามเกณฑ์ชี้วัดของหน่วยงาน คณะทำงาน/ผู้ปฏิบัติในหอผู้ป่วย/หน่วยงาน ร่วมกันกำหนด ข้อมูลที่จะเก็บ * ชนิดของข้อมูล * วิธีการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อมูลตามเกณฑ์ชี้วัด * ออกแบบเครื่องมือเก็บข้อมูล ตามแนวทางการวัดและ ประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ชี้วัด ผู้ประสานงาน นำข้อมูลมาดำเนินการตรวจสอบความถูกต้อง วิเคราะห์ แปลผล สรุปรายงานต่อคณะกรรมการ QA

59 ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะห์และประเมินผลคุณภาพการพยาบาล
ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะห์และประเมินผลคุณภาพการพยาบาล คณะกรรมการ/คณะทำงาน ต้องค้นหาสาเหตุปัญหาความแปรปรวนในระบบหรือกระบวนการทำงาน จำเป็นต้องแก้ไขทันทีหรือไม่ แก้ไขอย่างไร 1. การค้นหาความแปรปรวนที่เกิดขึ้นในระบบ ความแปรปรวนที่เป็นปกติในระบบ (Common Cause Variance) เป็นความแปรปรวนเล็กน้อย ความแปรปรวนที่ไม่ปกติ (Special Cause Variance) เกิดขึ้นเมื่อระบบหรือกระบวนการนั้น มีข้อขัดข้องหรือกระบวนการนั้นต้องหยุดชะงัก วิธีการค้นหาความแปรปรวน โดยใช้ Statistical control * กราฟต่อเนื่อง (Run Chart) * กราฟควบคุม (Control Chart)

60 ตัวอย่างการสร้างกราฟควบคุม
อัตราการ ติดเชื้อ UTI% ความแปรปรวนที่ผิดปกติ UCL P LCL UCL = Upper Control Linit (P + SD) LCL = Lower Control Limit (P - SD) P = ค่าเฉลี่ยของสัดส่วน (อัตราการติดเชื้อ)

61 ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะห์และประเมินคุณภาพการพยาบาล (ต่อ) 2
ขั้นตอนที่ 7 การวิเคราะห์และประเมินคุณภาพการพยาบาล (ต่อ) 2. การค้นหาสาเหตุของความแปรปรวน นำข้อมูลที่ได้ มาทบทวนแบบแผนของปัญหาหรือ ความเบี่ยงเบนไปจากมาตรฐานที่กำหนด ค้นหาสาเหตุของปัญหาให้ได้มากที่สุด และจัดหมวดหมู่ของปัญหา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเหตุและผล นำผลการวิเคราะห์ค้นหาสาเหตุ วางแผนแก้ไข ป้องกันและปรับปรุงคุณภาพ

62 IV. ระยะที่ 4 การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (Act) (Contineuos Quality Improvement:CQI)
ขั้นตอนที่ 8 การแก้ไขข้อบกพร่องและการปรับปรุงคุณภาพการพยาบาล หลังจากจัดลำดับความสำคัญปัญหาแล้ว ต้อง กำหนดเป้าหมายของการปรับปรุง กำหนดแนวทางแก้ปัญหาตามสาเหตุที่ค้นพบ วางแผนดำเนินการแก้ไข ปรับปรุงคุณภาพ ทดลองดำเนินการแก้ไขปรับปรุงคุณภาพ (ทำอะไร อย่างไร เมื่อไหร่ โดยใคร และเก็บข้อมูลประเมินผลซ้ำอย่างไร)

63 การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI)
เป็นวิธีการจัดการคุณภาพ ภายใต้ระบบประกันคุณภาพ ความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ ความปลอดภัยของผู้ให้บริการ

64 องค์ประกอบของ CQI ขั้นตอนของ CQI เครื่องมือสำหรับการพัฒนาคุณภาพ
ความคิดสร้างสรรค์กับการพัฒนาคุณภาพ ข้อมูลทางวิชาการที่ทันสมัย

65 ตัวอย่าง กระบวนการดำเนินการ เบื้องต้น
ตัวอย่าง กระบวนการดำเนินการ เบื้องต้น ตั้งเป้า ลดอุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับ เฝ้าดู กำหนด Indicator -การปฏิบัติตามมาตรฐานวิธีปฏิบัติการป้องกันการเกิดแผลกดทับ -เก็บข้อมูลผลการเฝ้าระวัง อุบัติการณ์ -วิเคราะห์และประเมินผล -เปรียบเทียบกับข้อมูลเดิม 3. ปรับเปลี่ยน มาตรฐานวิธีปฏิบัติ BMK Best Practice

66 ตัวอย่าง การกำหนดแผนการแก้ไขและปรับปรุงคุณภาพ
ตัวอย่าง การกำหนดแผนการแก้ไขและปรับปรุงคุณภาพ เรื่องประเด็น เกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ กิจกรรมสำคัญ ระยะเวลา ดำเนินการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ 1.พยาบาลขาดความรู้/และทักษะในการทำแผลผู้ป่วยเบาหวาน 1. พยาบาลผู้เกี่ยวข้องทุกคน มีความรู้ และทักษะในการทำแผลเบาหวาน สามารถ ทำแผลเบาหวานได้ถูกต้อง 1. ประชุมเจ้าหน้าที่ ในหอผู้ป่วย วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุร่วมกัน 2. ร่วมกันกำหนด เป้าหมายการ พัฒนาคุณภาพ บริการ 3. เสริมความรู้และฝึกทักษะเรื่องการทำแผลเบาหวาน 1 วัน …. บาท หัวหน้า หัวหน้า และทีมงาน หัวหน้า และทีมงานพัฒนาการวางแผนจำหน่ายผู้ป่วย ระบุ ว.ด.ป.

67 ขั้นตอนที่ 9 การเฝ้าระวังและการประเมินผลคุณภาพการพยาบาลต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ เพื่อ 1. ใช้สะท้อนและควบคุมระดับคุณภาพการพยาบาลไม่ให้ลดลง 2. ผลักดันให้เกิดการเพิ่มคุณภาพการพยาบาล วิธีการ วัดและประเมินแบบปัจจุบันและย้อนหลังตามวงจร ดังนี้ ข้อมูลที่ได้จาก การเฝ้าระวัง สรุปผลและ รายงานผลการพัฒนา วิเคราะห์ปัญหา สถานการณ์ หรือแนวโน้มของปัญหา แก้ไข/ปรับปรุง คุณภาพอย่างต่อเนื่อง

68 ขั้นตอนที่ 10 การรายงานผลการประกันคุณภาพการพยาบาล 1
ขั้นตอนที่ 10 การรายงานผลการประกันคุณภาพการพยาบาล ผู้ประสานคณะทำงานฯ QA ระดับหน่วยงานย่อย ผู้ประสานคณะทำงาน QA ระดับกลุ่มการพยาบาล คณะกรรมการ QA ของกลุ่มการพยาบาล หัวหน้าพยาบาล คณะกรรมการบริหารของสถานพยาบาล ผู้ประสานงาน QA สรุปผลวิเคราะห์ข้อมูลตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ และแผนพัฒนาคุณภาพการพยาบาล คณะกรรมการเครือข่ายเขต สำนักการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข

69 กระบวนการประกันและการรับรองคุณภาพ
สร้าง /ใช้ มาตรฐาน ใช้เป็นเกณฑ์วัดและประเมินตนเอง ดำเนินการพัฒนาส่วนขาด No วัด และประเมินจาก ภายใน Yes Yes No วัด ประเมินจาก องค์กรภายนอก รับรอง คุณภาพจากภายนอก

70 ผู้บริหารต้องมุ่งมั่น
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ สื่อสารเรื่องคุณภาพ ผู้บริหารต้องมุ่งมั่น สนับสนุน ลด/ขจัดอุปสรรค ส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม


ดาวน์โหลด ppt แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google