ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวคิดเกี่ยวกับงานจดหมายเหตุ
รองศาสตราจารย์ ดร. สมสรวง พฤติกุล
2
ความสัมพันธ์ของเอกสารกับจดหมายเหตุ
เอกสาร (records) จดหมายเหตุ
3
Archives ความหมายของคำ -หอ/หน่วยงานจดหมายเหตุ -เอกสารจดหมายเหตุ
-สถานที่เก็บเอกสาร -หอ/หน่วยงานจดหมายเหตุ -เอกสารจดหมายเหตุ
4
จดหมายเหตุ ความหมายของคำ
เอกสารที่แต่ละส่วนงานจัดทำ หรือรับไว้และใช้ในการบริหารงานของส่วนงาน และเมื่อใช้งานเสร็จหรือวัตถุประสงค์ของการจัดทำเอกสารสิ้นสุดแล้ว แต่เอกสารนั้นยังมีคุณค่าต่อเนื่องจึงต้องส่งมอบให้หน่วยงานจดหมายเหตุจัดเก็บและดูแลรักษาเพื่อให้สามารถนำเอกสารดังกล่าวมาใช้ได้ทันทีที่ต้องการและเพื่อให้มีการใช้เอกสารดังกล่าวอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น
5
จดหมายเหตุ (archives)
เอกสารที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้และสะสมโดยบุคคลหรือหน่วยงานเพื่อการดำเนินงานตามหน้าที่และนำมาเก็บรักษาเนื่องจากยังมีคุณค่าต่อเนื่องต่อองค์กร
6
ความหมายของจดหมายเหตุ
T R Schellenberg เอกสารของสถาบันของรัฐหรือเอกชนที่ได้พิจารณาแล้วว่ามีคุณค่าต่อการจัดเก็บรักษาเพื่อการอ้างอิงและการศึกษาวิจัยและได้มีการเก็บหรือได้รับการคัดเลือกให้เก็บรักษาไว้ในสถาบันจดหมายเหตุ
7
ความหมายของจดหมายเหตุ
Sir Hilraly Jenkinson เอกสารที่ได้สะสมโดยกระบวนการตามธรรมชาติในการดำเนินงานของภาครัฐหรือเอกชนและหลังจากนั้นได้นำมา ดูแลรักษาเพื่อการอ้างอิงโดยบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ
8
พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ
ยุคอารยธรรมโบราณ ก่อนที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการขีดเขียนเป็นลายลักษณ์ -ในสมัยสุเมเรียน มนุษย์เริ่มรู้จักการขีดเขียนบนแผ่นดินเหนียว -ชาวอียิปต์ใช้กระดาษปาปิรัส
9
พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ)
ยุคคลาสสิก ชาวโรมันและกรีกโบราณบันทึกข้อมูลบนแผ่นไม้ แผ่นหนัง และทองสัมฤทธิ์ มีการจัดทำดรรชนี/รายชื่อเอกสาร มีหน่วยรับผิดชอบและมีตำแหน่งผู้รับผิดชอบการจัดการเอกสารของรัฐ การจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุไม่แยกจากกันและมีการบริหารเป็นระบบรวมศูนย์
10
พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ)
ยุคกลาง มีแบบเอกสาร (documentary form) การจัดทำเอกสารเป็นพยานหลักฐานในการตัดสินคดีของศาล เกิดระบบทะเบียนเอกสาร (Registry System) เริ่มมีการแยกเอกสารที่มีคุณค่าออกจากเอกสารที่ไม่มีคุณค่า มีการจัดเก็บเอกสารแบบเรียงตามลำดับเหตุการณ์/วันเดือนปี
11
พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ)
ยุคใหม่ การจัดทำและเก็บรักษาเอกสารจำเป็นต่อการบริหารราชการและ องค์การต่างๆ เช่น โรงพยาบาล ธนาคาร มหาวิทยาลัย การจัดการเอกสารต้องมีระบบและอาศัยหลักวิชาการ มีการผลิตและเผยแพร่วรรณกรรมทางด้านการจัดจัดทำเอกสาร การจัดเก็บและค้นคืนเอกสาร การดูแลรักษาเอกสาร วิชาการศึกษาเกี่ยวกับเอกสาร (diplomatics) มีความสำคัญ
12
พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ)
ยุคปฏิวัติฝรั่งเศส งานจดหมายเหตุแยกจากงานจัดการเอกสาร เริ่มยุคของงานจดหมายเหตุสมัยใหม่ เกิดแนวคิดการจัดตั้งหอจดหมายเหตุแห่งชาติและแนวคิดนี้เผยแพร่และกระจายไปทุกภูมิภาคของโลก ตำแหน่งนักจดหมายเหตุเริ่มเป็นที่รู้จัก
13
พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ)
ยุคการจัดการเอกสาร เกิดการคิดค้นหลักทฤษฏีวงจรชีวิตเอกสาร เกิดการตระหนักถึงความสำคัญของเอกสาร เริ่มใช้คำ “Records Management”
14
พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ)
ยุคเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ มีการวิจัยเพื่อหาหลักการและแนวคิดการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม หลักการการจัดการเอกสารอย่างต่อเนื่อง (records continuum) โครงการวิจัยสำคัญ เช่น InterPARES Project
15
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
UNESCO – RAMP Study ICA SARBICA
16
ความหมายของจดหมายเหตุ
เอกสารเก่า เอกสารประวัติศาสตร์ เอกสารที่มีคุณค่าเก็บถาวร เอกสารที่ที่มีคุณค่าต่อเนื่อง บันทึกเหตุการณ์สำคัญ
17
รูปแบบ/ชื่อของหน่วยงานจดหมายเหตุ
หอจดหมายเหตุ หอประวัติ/หอเกียรติยศ พิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ ศูนย์ข้อมูล
18
ประเภทของหอจดหมายเหตุ
In-House Archives Collecting Archives Mix Archives
19
ระบบการบริหารงานจดหมายเหตุ
ปัจจัยนำเข้า นโยบาย เอกสาร วัสดุครุภัณฑ์ เงิน/งบประมาณ บุคลากร
20
ระบบการบริหารงานจดหมายเหตุ
กระบวนการดำเนินงาน การจัดหา การจัดเรียงและทำคำอธิบาย การสงวนรักษา การให้ใช้ การบันทึกเหตุการณ์สำคัญ*
21
ระบบการบริหารงานจดหมายเหตุ
ผลลัพธ์ จดหมายเหตุที่พร้อมบริการ
22
สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.