ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระหว่างวันที่ 6 - 8 กรกฎาคม 2558
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับจังหวัดเชียงใหม่ รอบที่ 2/2558 คณะที่ 3 การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ 3.1 การบริหารการเงินการคลัง 3.2 การบริการจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา 3.3 ธรรมาภิบาล ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2558
2
3.1 การบริหารการเงินการคลัง
ประเด็น 1 ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) ประเด็น 2 หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (เกินเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 20)
3
3.1 การบริหารการเงินการคลัง
ประเด็น 1 ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10)
4
การบริหารการเงินการคลังจังหวัดเชียงใหม่
ข้อสรุป ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 จังหวัดเชียงใหม่ มีโรงพยาบาลที่มีวิกฤติระดับ 7 จำนวน 3 รพ กระบวนการดำเนินงานของหน่วยบริการในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลมีแผนการดำเนินงาน เพื่อปรับประสิทธิภาพการบริหารการเงิน โรงพยาบาลมีการแต่งตั้งคณะกรรมการแก้ปัญหาการเงินของโรงพยาบาล โรงพยาบาลมีแผนควบคุมค่าใช้จ่าย / เพิ่มรายได้ (Planfin) โดยจังหวัดพิจารณา และเขตอนุมัติ
5
ประเด็นที่ 1 ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) OrgID Org Risk Scoring ไตรมาส 4/57 ไตรมาส 1/58 ไตรมาส 2/58 พค 58 10713 นครพิงค์,รพศ. (585เตียง) 11119 จอมทอง,รพช. (207เตียง) 2 3 11120 เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช.(60เตียง) 11121 เชียงดาว,รพช. (60เตียง) 1 11122 ดอยสะเก็ด,รพช. (60เตียง) 7 11123 แม่แตง,รพช. (60เตียง) 11124 สะเมิง,รพช. (30เตียง) 4 5 11125 ฝาง,รพช. (210เตียง) 11126 แม่อาย,รพช. (60เตียง) 11127 พร้าว,รพช. (60เตียง) 11128 สันป่าตอง,รพช.(120เตียง) 11129 สันกำแพง,รพช. (60เตียง)
6
ประเด็นที่ 1 ประสิทธิภาพของการบริหารการเงิน สามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) OrgID Org Risk Scoring ไตรมาส 4/57 ไตรมาส 1/58 ไตรมาส 2/58 พค 58 11130 สันทราย,รพช. (60เตียง) 1 11131 หางดง,รพช. (60เตียง) 2 3 4 11132 ฮอด,รพช. (60เตียง) 7 11133 ดอยเต่า,รพช. (30เตียง) 5 6 11134 อมก๋อย,รพช. (60เตียง) 11135 สารภี,รพช. (60เตียง) 11136 เวียงแหง,รพช. (30เตียง) 11137 ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) 11138 แม่วาง,รพช. (30เตียง) 11139 แม่ออน,รพช. (30เตียง) 11643 ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) 23736 วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา,รพช. (10เตียง)
7
อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Current Ratio) อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว
การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงินของโรงพยาบาล ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ลำดับ หน่วยบริการ อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Current Ratio) ค่ามาตรฐาน 1.5 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) ค่ามาตรฐาน 1.0 (Cash Ratio) ค่ามาตรฐาน 0.7 1 นครพิงค์,รพศ. (585เตียง) 4.68 3.60 1.12 2 จอมทอง,รพช. (207เตียง) 1.32 0.66 3 เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช.(60เตียง) 1.10 0.76 0.63 4 เชียงดาว,รพช. (60เตียง) 3.31 3.11 2.54 5 ดอยสะเก็ด,รพช. (60เตียง) 1.08 0.75 0.35 6 แม่แตง,รพช. (60เตียง) 2.80 2.65 1.66 7 สะเมิง,รพช. (30เตียง) 1.27 1.18 0.23 8 ฝาง,รพช. (210เตียง) 0.91 0.78 0.37 9 แม่อาย,รพช. (60เตียง) 2.45 2.35 1.88 10 พร้าว,รพช. (60เตียง) 0.61 0.14 11 สันป่าตอง,รพช.(120เตียง) 0.98 0.80 0.47 12 สันกำแพง,รพช. (60เตียง) 0.95 0.79
8
อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Current Ratio) อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว
การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงินของโรงพยาบาล ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ลำดับ หน่วยบริการ อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Current Ratio) ค่ามาตรฐาน 1.5 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick Ratio) ค่ามาตรฐาน 1.0 (Cash Ratio) ค่ามาตรฐาน 0.7 13 สันทราย,รพช. (60เตียง) 1.23 1.16 0.90 14 หางดง,รพช. (60เตียง) 1.32 1.05 0.42 15 ฮอด,รพช. (60เตียง) 0.79 0.68 0.47 16 ดอยเต่า,รพช. (30เตียง) 1.06 0.87 0.72 17 อมก๋อย,รพช. (60เตียง) 2.20 2.02 1.67 18 สารภี,รพช. (60เตียง) 1.85 1.71 19 เวียงแหง,รพช. (30เตียง) 10.85 9.81 8.94 20 ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) 2.42 2.10 2.00 21 แม่วาง,รพช. (30เตียง) 0.83 0.60 22 แม่ออน,รพช. (30เตียง) 2.50 2.33 1.88 23 ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) 0.89 0.59 0.31 24 วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา,รพช. (10เตียง) 1.99 1.86 1.15
9
การวิเคราะห์อัตราส่วนสภาพคล่องทางการเงินของโรงพยาบาล ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 (ต่อ) สถานการณ์ พบว่า : โรงพยาบาลชุมชนที่มีอัตราส่วนทางการเงินต่ำกว่าค่ามาตรฐาน 14แห่ง ได้แก่ รพ.จอมทอง รพ.เทพรัตนเวชชานุกูล รพ.ดอยสะเก็ด รพ.สะเมิง รพ.ฝาง รพ.พร้าว รพ.สันป่าตอง รพ.สันกำแพง รพ.สันทราย รพ.หางดง รพ.ฮอด รพ.ดอยเต่า รพ.แม่วาง รพ.ดอยหล่อ
10
การวิเคราะห์สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย I/E Ratio (รวมค่าเสื่อมราคา)
ของโรงพยาบาล ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ลำดับ หน่วยบริการ สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย I/E Ratio (รวมค่าเสื่อมราคา) ค่ามาตรฐาน > 1 1 นครพิงค์,รพศ. (585เตียง) 1.31 2 จอมทอง,รพช. (207เตียง) 0.95 3 เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช.(60เตียง) 1.18 4 เชียงดาว,รพช. (60เตียง) 1.14 5 ดอยสะเก็ด,รพช. (60เตียง) 1.05 6 แม่แตง,รพช. (60เตียง) 1.11 7 สะเมิง,รพช. (30เตียง) 0.84 8 ฝาง,รพช. (210เตียง) 0.92 9 แม่อาย,รพช. (60เตียง) 0.98 10 พร้าว,รพช. (60เตียง) 1.08 11 สันป่าตอง,รพช.(120เตียง) 1.06 12 สันกำแพง,รพช. (60เตียง) 1.09
11
การวิเคราะห์สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย I/E Ratio (รวมค่าเสื่อมราคา)
ของโรงพยาบาล ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ลำดับ หน่วยบริการ สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย I/E Ratio (รวมค่าเสื่อมราคา) ค่ามาตรฐาน > 1 13 สันทราย,รพช. (60เตียง) 1.31 14 หางดง,รพช. (60เตียง) 0.95 15 ฮอด,รพช. (60เตียง) 1.18 16 ดอยเต่า,รพช. (30เตียง) 1.14 17 อมก๋อย,รพช. (60เตียง) 1.05 18 สารภี,รพช. (60เตียง) 1.11 19 เวียงแหง,รพช. (30เตียง) 0.84 20 ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) 0.92 21 แม่วาง,รพช. (30เตียง) 0.98 22 แม่ออน,รพช. (30เตียง) 1.08 23 ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) 1.06 24 วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา,รพช. (10เตียง) 1.09
12
การวิเคราะห์สัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย I/E Ratio (ไม่รวมค่าเสื่อมราคา)
ของโรงพยาบาล ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม (ต่อ) สถานการณ์ โรงพยาบาลชุมชน มีสัดส่วนรายรับต่อรายจ่าย I/E Ratio ต่ำกว่าค่ามาตรฐาน 8 แห่ง ได้แก่ รพ.จอมทอง รพ.สะเมิง รพ.ฝาง รพ.แม่อาย รพ.หางดง รพ.เวียงแหง รพ.ไชยปราการ รพ.แม่วาง ดังนั้นโรงพยาบาลชุมชนทั้ง 8 แห่งจะต้องมีการประเมินแผนรายรับ – รายจ่ายทุกเดือน
13
เงินสดคงเหลือหลังจากหักหนี้สิน
การวิเคราะห์สถานการณ์เงินสดคงเหลือหลังจากหักหนี้สิน และ ระดับความเสี่ยง ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ลำดับ หน่วยบริการ เงินสดคงเหลือหลังจากหักหนี้สิน หน่วย : ล้านบาท ระดับความเสี่ยง Risk Scoring แปรความหมาย 1 นครพิงค์,รพศ. (585เตียง) -70,629,009.96 2 จอมทอง,รพช. (207เตียง) -20,716,782.85 3 มีความเสี่ยงปานกลาง เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช.(60เตียง) 3,261,667.53 4 เชียงดาว,รพช. (60เตียง) 54,740,559.04 5 ดอยสะเก็ด,รพช. (60เตียง) -11,329,851.96 6 แม่แตง,รพช. (60เตียง) 16,738,480.92 7 สะเมิง,รพช. (30เตียง) -12,038,003.27 มีความเสี่ยง 8 ฝาง,รพช. (210เตียง) -44,486,465.58 9 แม่อาย,รพช. (60เตียง) 41,071,376.12 10 พร้าว,รพช. (60เตียง) -19,886,212.16 11 สันป่าตอง,รพช.(120เตียง) -49,074,225.97 12 สันกำแพง,รพช. (60เตียง) -8,962,338.28
14
เงินสดคงเหลือหลังจากหักหนี้สิน
การวิเคราะห์สถานการณ์เงินสดคงเหลือหลังจากหักหนี้สิน และ ระดับความเสี่ยง ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 ลำดับ หน่วยบริการ เงินสดคงเหลือหลังจากหักหนี้สิน หน่วย : ล้านบาท ระดับความเสี่ยง Risk Scoring แปรความหมาย 13 สันทราย,รพช. (60เตียง) -2,618,151.87 1 14 หางดง,รพช. (60เตียง) -18,257,628.63 4 มีความเสี่ยงปานกลาง 15 ฮอด,รพช. (60เตียง) -14,469,923.85 7 มีความเสี่ยง 16 ดอยเต่า,รพช. (30เตียง) 730,299.07 6 17 อมก๋อย,รพช. (60เตียง) 19,826,896.57 18 สารภี,รพช. (60เตียง) -6,470,857.75 19 เวียงแหง,รพช. (30เตียง) 51,561,010.12 20 ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) 17,838,393.70 21 แม่วาง,รพช. (30เตียง) -11,767,229.31 22 แม่ออน,รพช. (30เตียง) 6,263,992.72 23 ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) -5,681,424.95 24 วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา,รพช. (10เตียง) 1,812,350.78
15
การวิเคราะห์สถานการณ์เงินสดคงเหลือหลังจากหักหนี้สิน และ ระดับความเสี่ยง ไตรมาสที่ 3 / ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2558 (ต่อ) สถานการณ์ พบว่า : โรงพยาบาลขาดสภาพคล่องด้านการเงินเนื่องจากมีเงินสดหลังจากหักหนี้สินติดลบ 14 แห่ง ได้แก่ รพ.นครพิงค์ รพ.จอมทอง รพ.ดอยสะเก็ด รพ.สะเมิง รพ.ฝาง รพ.พร้าว รพ.สันป่าตอง รพ.สันกำแพง รพ.สันทราย รพ.หางดง รพ.ฮอด รพ.สารภี รพ.แม่วาง รพ.ดอยหล่อ ผลการวิเคราะห์ระดับความเสี่ยง (Risk Scoring) ความเสี่ยงอยู่ในระดับ 7 จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ รพ.ฝาง รพ.ฮอด รพ.ดอยหล่อ ความเสี่ยงอยู่ในระดับ 6 จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ รพ.ดอยเต่า ความเสี่ยงอยู่ในระดับ 5 จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ รพ.สะเมิง ความเสี่ยงอยู่ในระดับ 4 จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ รพ.พร้าว รพ.สันป่าตอง รพ.สันกำแพงรพ.หางดง รพ.แม่วาง
16
ผลการประเมินระดับความสำเร็จการบริหาร การเงินการคลัง จังหวัดเชียงใหม่
สถานบริการ จำนวน เตียง FAI 56 80คะแนน FAI 57 80 คะแนน FAI 1/58 100 คะแนน FAI 2/58 นครพิงค์,รพศ. 585 96 94 72 86 จอมทอง,รพช. 207 100 84 เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช. 60 78 เชียงดาว,รพช. ดอยสะเก็ด,รพช. แม่แตง,รพช. 80 66 สะเมิง,รพช. 30 92 ฝาง,รพช. 210 แม่อาย,รพช. 90 พร้าว,รพช. สันป่าตอง,รพช. 120 สันกำแพง,รพช. 56 สันทราย,รพช. 54 หางดง,รพช. 70 ฮอด,รพช. 68 82 ดอยเต่า,รพช.
17
ผลการประเมินระดับความสำเร็จการบริหาร การเงินการคลัง จังหวัดเชียงใหม่
สถานบริการ จำนวน เตียง FAI 56 80คะแนน FAI 57 80 คะแนน FAI 1/58 100 คะแนน FAI 2/58 อมก๋อย,รพช. (60เตียง) 60 86 100 72 สารภี,รพช. (60เตียง) 96 92 66 68 เวียงแหง,รพช. (30เตียง) 30 82 56 74 ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) 78 แม่วาง,รพช. (30เตียง) 94 แม่ออน,รพช. (30เตียง) 90 88 ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) 70 วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา,รพช. (10เตียง) 10 84 คะแนนเฉลี่ยภาพรวมจังหวัด 92.75 91.42 69.25 75.92 ผลการประเมินภาพรวมจังหวัด ผ่าน ไม่ผ่าน
18
การบริหารการเงินการคลัง
คะแนน FAI รอบ 2/2558 สถานบริการ การควบคุมภายใน เกณฑ์คงค้าง การบริหารการเงินการคลัง Unit cost คะแนนรวม 10713 นครพิงค์,รพศ. (585เตียง) 3 5 4 86 11119 จอมทอง,รพช. (207เตียง) 2 84 11120 เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช.(60เตียง) 78 11121 เชียงดาว,รพช. (60เตียง) 11122 ดอยสะเก็ด,รพช. (60เตียง) 11123 แม่แตง,รพช. (60เตียง) 66 11124 สะเมิง,รพช. (30เตียง) 72 11125 ฝาง,รพช. (210เตียง) 11126 แม่อาย,รพช. (60เตียง) 11127 พร้าว,รพช. (60เตียง) 11128 สันป่าตอง,รพช.(120เตียง) 11129 สันกำแพง,รพช. (60เตียง)
19
การบริหารการเงินการคลัง
คะแนน FAI รอบ 2/2558 สถานบริการ การควบคุมภายใน เกณฑ์คงค้าง การบริหารการเงินการคลัง Unit cost คะแนนรวม 11130 สันทราย,รพช. (60เตียง) 2 4 3 54 11131 หางดง,รพช. (60เตียง) 5 70 11132 ฮอด,รพช. (60เตียง) 82 11133 ดอยเต่า,รพช. (30เตียง) 84 11134 อมก๋อย,รพช. (60เตียง) 72 11135 สารภี,รพช. (60เตียง) 68 11136 เวียงแหง,รพช. (30เตียง) 74 11137 ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) 78 11138 แม่วาง,รพช. (30เตียง) 11139 แม่ออน,รพช. (30เตียง) 88 11643 ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) 23736 วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา,รพช. (10เตียง) คะแนน FAI รอบ 2/ 2558 ผ่านเกณฑ์ 8 โรงพยาบาลไม่ผ่านเกณฑ์ 16 โรงพยาบาล ภาพรวมคิดเป็นร้อยละ 75.92
20
แผนประมาณการรายได้ ควบคุมค่าใช้จ่าย (Planfin)
สถานบริการ ข้อมูลประมาณการแผนรายได้ - รายจ่าย ปีงบประมาณ 2558 งวด 6 เดือนหลัง ข้อมูลรายได้ – รายจ่ายจริง ตุลาคม 57 ถึง 31 พฤษภาคม 58 แผนรายได้ แผนรายจ่าย รายได้-รายจ่าย รายได้จริง รายจ่ายจริง นครพิงค์,รพศ. (585เตียง) 734,275,000.00 778,000,000.00 -43,725,000.00 1,050,330,681.97 783,157,398.41 267,173,283.56 จอมทอง,รพช. (207เตียง) 197,050,000.00 192,482,544.00 4,567,456.00 176,035,642.68 183,940,590.03 -7,904,947.35 เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช.(60เตียง) 88,585,716.67 46,478,028.15 42,107,688.52 54,100,645.10 43,381,138.33 10,719,506.77 เชียงดาว,รพช. (60เตียง) 73,062,000.00 72,739,790.58 322,209.42 80,534,077.94 81,084,311.32 -550,233.38 ดอยสะเก็ด,รพช. (60เตียง) 53,888,575.00 53,461,319.50 427,255.50 60,862,053.93 52,569,833.83 8,292,220.10 แม่แตง,รพช. (60เตียง) 125,783,206.03 124,039,883.40 1,743,322.63 53,828,896.13 53,334,834.99 494,061.14 สะเมิง,รพช. (30เตียง) 31,500,869.82 31,491,576.03 9,293.79 28,706,025.75 31,895,843.63 -3,189,817.88 ฝาง,รพช. (210เตียง) 90,843,918.40 90,112,644.29 731,274.11 166,687,836.77 180,225,288.51 -13,537,451.74 แม่อาย,รพช. (60เตียง) 69,924,216.79 68,203,982.40 1,720,234.39 60,032,180.40 72,557,428.03 -12,525,247.63 พร้าว,รพช. (60เตียง) 45,065,000.00 43,649,000.00 1,416,000.00 44,152,199.47 40,698,253.09 3,453,946.38 สันป่าตอง,รพช.(120เตียง) 175,718,550.00 172,152,000.00 3,566,550.00 189,061,535.47 168,915,247.76 20,146,287.71 สันกำแพง,รพช.(60เตียง) 50,620,000.00 50,350,000.00 270,000.00 49,750,377.54 47,582,773.14 2,167,604.40
21
แผนประมาณการรายได้ ควบคุมค่าใช้จ่าย (Planfin)
สถานบริการ ข้อมูลประมาณการแผนรายได้ - รายจ่าย ปีงบประมาณ 2558 งวด 6 เดือนหลัง ข้อมูลรายได้ – รายจ่ายจริง ตุลาคม 57 ถึง 31 พฤษภาคม 58 แผนรายได้ แผนรายจ่าย รายได้-รายจ่าย รายได้จริง รายจ่ายจริง สันทราย,รพช. (60เตียง) 88,855,550.00 88,714,340.00 141,210.00 96,382,436.90 83,849,645.54 12,532,791.36 หางดง,รพช. (60เตียง) 92,974,555.56 90,982,335.42 1,992,220.14 81,300,435.08 91,073,610.30 -9,773,175.22 ฮอด,รพช. (60เตียง) 57,331,131.87 56,072,793.08 1,258,338.79 55,176,705.02 60,113,365.33 -4,936,660.31 ดอยเต่า,รพช. (30เตียง) 33,851,300.12 32,250,350.02 1,600,950.10 32,156,313.74 28,745,109.43 3,411,204.31 อมก๋อย,รพช. (60เตียง) 44,160,000.00 39,224,900.00 4,935,100.00 46,542,180.59 38,341,902.64 8,200,277.95 สารภี,รพช. (60เตียง) 66,625,665.00 57,921,263.47 8,704,401.53 69,357,374.11 58,466,453.84 10,890,920.27 เวียงแหง,รพช. (30เตียง) 23,731,025.92 22,800,000.00 931,025.92 18,492,735.35 31,681,384.99 -13,188,649.64 ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) 33,955,403.05 33,592,047.02 363,356.03 23,772,940.28 32,837,380.42 -9,064,440.14 แม่วาง,รพช. (30เตียง) 28,970,390.76 33,729,290.11 -4,758,899.35 32,175,529.23 33,837,821.15 -1,662,291.92 แม่ออน,รพช. (30เตียง) 24,409,650.00 25,935,950.00 -1,526,300.00 29,482,702.95 25,340,758.10 4,141,944.85 ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) 27,137,514.14 29,882,779.73 -2,745,265.59 25,578,243.67 28,705,950.12 -382,440.86 วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80พรรษา,รพช. (10เตียง) 9,472,158.75 9,347,052.17 125,106.58 21,895,281.14 18,444,000.06 3,451,281.08 สถานการณ์ พบว่ามีโรงพยาบาลที่ไม่สามารถควบคุมแผนประมาณการรายได้ ควบคุมค่าใช้จ่ายได้จำนวน 11 รพ คิดเป็นร้อยละ 45.83
22
ข้อมูลสนับสนุนตัวชี้วัด ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) สถานบริการ 1.มีการแต่งตั้ง คกก.แก้ปัญหาการเงิน รพ. 2.หน่วยบริการมีแผนควบคุม Planfin ครบถ้วนสมบูรณ์ 3.คุณภาพบัญชี รพ.ผ่านเกณฑ์คะแนน 100% 4. มีรายงานการเงินและตัวชี้วัดเสนอผู้บริหารทุกเดือน 5.คะแนน FAI ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 รวม นครพิงค์,รพศ. (585เตียง) 1 4 จอมทอง,รพช. (207เตียง) เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช.(60เตียง) เชียงดาว,รพช. (60เตียง) ดอยสะเก็ด,รพช. (60เตียง) 5 แม่แตง,รพช. (60เตียง) สะเมิง,รพช. (30เตียง) 3 ฝาง,รพช. (210เตียง) แม่อาย,รพช. (60เตียง) พร้าว,รพช. (60เตียง) สันป่าตอง,รพช.(120เตียง) สันกำแพง,รพช. (60เตียง)
23
ข้อมูลสนับสนุนตัวชี้วัด ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10) สถานบริการ 1.มีการแต่งตั้ง คกก.แก้ปัญหาการเงิน รพ. 2.หน่วยบริการมีแผนควบคุม Planfin ครบถ้วนสมบูรณ์ 3.คุณภาพบัญชี รพ.ผ่านเกณฑ์คะแนน 100% 4. มีรายงานการเงินและตัวชี้วัดเสนอผู้บริหารทุกเดือน 5.คะแนน FAI ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 รวม สันทราย,รพช. (60เตียง) 1 4 หางดง,รพช. (60เตียง) 3 ฮอด,รพช. (60เตียง) ดอยเต่า,รพช. (30เตียง) อมก๋อย,รพช. (60เตียง) สารภี,รพช. (60เตียง) เวียงแหง,รพช. (30เตียง) ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) แม่วาง,รพช. (30เตียง) แม่ออน,รพช. (30เตียง) ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา,รพช. (10เตียง) 5 24 13 21 8 90 คิดเป็นร้อยละ 100 54.17 87.50 33.33 75
24
3.1 การบริหารการเงินการคลัง
ประเด็น 2 หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (เกินเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 20)
25
ประเด็นที่ 2 หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (เกินเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 20) ข้อมูลไตรมาส 2/2558 สถานบริการ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มระดับบริการเดียวกัน ผู้ป่วยนอก ต้นทุนการให้บริการ ผู้ป่วยนอก ค่าเฉลี่ยของกลุ่มระดับบริการเดียวกัน ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยใน ผลการ ผ่านเกณฑ์ นครพิงค์,รพศ. (585เตียง) 1,315.10 920.16 15,438.07 10,363.76 ผ่าน จอมทอง,รพช. (207เตียง) 927.02 537.40 25,784.68 10,298.08 เทพรัตนเวชชานุกูล,รพช.(60เตียง) 793.41 667.74 18,872.00 14,551.25 เชียงดาว,รพช. (60เตียง) 833.45 559.28 18,267.56 12,232.58 ดอยสะเก็ด,รพช. (60เตียง) 710.37 582.45 16,461.29 12,110.46 แม่แตง,รพช. (60เตียง) 517.91 11,744.41 สะเมิง,รพช. (30เตียง) 907.23 650.19 21,489.30 19,279.79 ฝาง,รพช. (210เตียง) 886.67 559.71 18,080.78 13,043.64 แม่อาย,รพช. (60เตียง) 654.06 15,578.68 พร้าว,รพช. (60เตียง) 718.46 552.06 18,240.03 10,521.13 สันป่าตอง,รพช.(120เตียง) 800.11 836.38 22,781.83 10,192.01 ไม่ผ่าน สันกำแพง,รพช. (60เตียง) 764.45 11,697.95
26
ประเด็นที่ 2 หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการ (เกินเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 20) ข้อมูลไตรมาส 2/2558 สถานบริการ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มระดับบริการเดียวกัน ผู้ป่วยนอก ต้นทุนการให้บริการ ผู้ป่วยนอก ค่าเฉลี่ยของกลุ่มระดับบริการเดียวกัน ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยใน ผลการ ผ่านเกณฑ์ สันทราย,รพช. (60เตียง) 833.45 538.95 18,267.56 12,922.85 ผ่าน หางดง,รพช. (60เตียง) 752.99 581.50 15,439.03 13,249.43 ฮอด,รพช. (60เตียง) 710.37 492.59 16,461.29 8,357.98 ดอยเต่า,รพช. (30เตียง) 780.86 530.33 18,151.98 10,445.54 อมก๋อย,รพช. (60เตียง) 793.41 604.27 18,872.00 14,262.79 สารภี,รพช. (60เตียง) 495.96 13,134.86 เวียงแหง,รพช. (30เตียง) 837.09 27,516.48 ไม่ผ่าน ไชยปราการ,รพช. (30เตียง) 517.28 8,223.23 แม่วาง,รพช. (30เตียง) 679.18 12,593.39 แม่ออน,รพช. (30เตียง) 758.89 575.86 20,391.35 12,558.35 ดอยหล่อ,รพช. (30เตียง) 907.23 667.70 21,489.30 19,143.30 วัดจันทร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา,รพช. (10เตียง) 1,062.99 746.48 23,748.12 19,661.09 สถานการณ์ หน่วยบริการที่มีต้นทุน OPD เกินเกณฑ์เฉลี่ยค่า Mean+1SD เกินของกลุ่มระดับบริการเดียวกัน จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ รพ.สันป่าตอง และ รพ.เวียงแหง คิดเป็นร้อยละ มีต้นทุน IPD เกินเกณฑ์เฉลี่ยค่า Mean+1SD เกินของกลุ่มระดับบริการเดียวกัน จำนวน แห่ง ได้แก่ รพ.เวียงแหงคิดเป็นร้อยละ 4.17
27
ข้อเสนอแนะ 1. การจัดทำแผนประมาณการรายรับ ควบคุมค่าใช้จ่ายต้อง
1. การจัดทำแผนประมาณการรายรับ ควบคุมค่าใช้จ่ายต้อง จัดทำแบบไม่ขาดดุล 2. มีการประเมินแผนรายรับควบคุมค่าใช้จ่ายเป็นรายไตรมาส 3. จะต้องมีมาตรการประหยัดค่าใช้จ่าย 4. ทบทวนการส่งต่อผู้ป่วยสิทธิ UC 5. มีการวางแผนการชำระหนี้ให้เจ้าหนี้การค้า
28
จังหวัด เชียงใหม่ รอบที่ 2 ประเด็นการตรวจราชการ :
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ หัวข้อ การบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา จังหวัด เชียงใหม่ รอบที่ 2 วันที่ 4 – 6 กรกฎาคม 2558 ประเด็นการตรวจราชการ : การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาอย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม
29
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา พ.ศ. 2557 มีการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหารจัดการด้านยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ทุกระดับ มีกรอบและบัญชีรายการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาที่สอดคล้องและลดหลั่นตามระดับสถานบริการเป้าหมาย มีการรายงานข้อมูลบริหารเวชภัณฑ์ ผ่านกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่และมีการรายงานด้านข้อมูลบริหารเวชภัณฑ์ เว็บไซต์สำนักบริหาร การสาธารณสุข ( ครบถ้วนทุกโรงพยาบาล
30
ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ไตรมาส 2 ปี 2558 เปรียบเทียบกับปี 2557
ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ไตรมาส 2 ปี 2558 เปรียบเทียบกับปี 2557 ต้นทุนค่ายาไตรมาส 2 (KPI ลดลง 10%) ภาพรวมเพิ่มขึ้น 0.75 % รพ.นครพิงค์ เพิ่มขึ้น 5.66 % ต้นทุนค่าวัสดุ LAB ไตรมาส 2 (KPI ลดลง 20%) ภาพรวมเพิ่มขึ้น % รพ.นครพิงค์ ลดลง 7.30 % มูลค่าการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ร่วม (KPI > 20%) ภาพรวมมูลค่าการจัดซื้อยาร่วม % ภาพรวมมูลค่าการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ร่วม % มีการจัดการระบบยาส่งต่อระดับจังหวัด 50 รายการ
31
ข้อสังเกตที่พบและข้อเสนอแนะ
ประเภทของเวชภัณฑ์ ไตรมาส 1 (เดือน) ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 1. ยา 0.97 0.93 0.90 2.วัสดุการแพทย์ 0.70 0.63 0.66 3. วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ 0.29 0.16 0.17 4. เวชภัณฑ์มิใช่ยา 1.99 1.96 2.29 5. วัสดุทันตกรรม 0.32 0.08 0.01 ข้อเสนอแนะ : เวชภัณฑ์ในหมวดที่ 2 , 3และ 5 ต้องมีการทบทวนระบบการสำรองคงคลัง การกำกับดูแลและการรายงาน เสนอให้มีการทบทวนรายการและจัดหมวดหมู่ให้ถูกต้องตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข
32
ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดของโรงพยาบาลนครพิงค์ มีการดำเนินการนโยบาย 1. มีการทบทวนข้อมูลรายการยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ และการส่งเสริการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2. การส่งเสริมการใช้ยาสามัญ (Generic Drug) ที่มีคุณภาพทดแทนยาต้นแบบ(Original Drug) ที่มีราคาสูง 3. มีระบบการกำกับประเมินการใช้ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา (Drug Utilization Evaluation) ผลการดำเนินงาน : ทำให้สามารถควบคุมต้นทุนมูลค่ายาได้ และ มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผลอย่างเป็นรูปธรรม
33
ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
มีระบบการกำกับประเมินการใช้ยา (Drug Utilization Evaluation) ด้านระบบยาการดำเนินโครงการ Antibiotic Smart Use : ASU เฝ้าระวัง ติดตาม ประเมินผลการใช้ยาปฏิชีวนะที่มากและเกินความจำเป็นในผู้ป่วย ของเครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับ โรงพยาบาลนครพิงค์ มีการประเมินเชิงคุณภาพในกลุ่มยา Statins, Angiotensin II receptor antagonists, Proton pump Inhibitors, COX-2 Selective Inhibitors ตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเพิ่มเติม มีการจัดระบบป้องกันการเกิดแพ้ยาซ้ำและพัฒนาเครือข่ายการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (APR) และการเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา (ME) เสนอแนะให้มีระบบการกำกับประเมินการใช้และส่งเสริมการใช้เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาอย่างสมเหตุผลเพิ่มเติมในสถานบริการทุกระดับ
34
3.3 ธรรมาภิบาล ประเด็นที่ 1 ด้านการป้องปรามตรวจสอบการทุจริต ประพฤติมิชอบ - การควบคุมภายในและตรวจสอบภายใน ประเด็นที่ 2 ด้านการส่งเสริมป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบ - การเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรฯ ให้มีแนวทางการ ดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม ประเด็น 3 ด้านแก้ไขปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ - การแก้ไขปัญหาปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถูกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย
35
ผลการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน
ประเด็นที่ 1 การตรวจสอบภายใน ประเมินตามแนวทางการตรวจราชการ กำหนดระดับความสำเร็จ 5 ระดับคือ ระดับ ผลการดำเนินงานแต่ละขั้นตอน ผลการตรวจ 1 จัดทำแผนการตรวจสอบภายในประจำปี 2558 1.1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการภาคีเครือข่ายการตรวจสอบภายใน สสจ. เชียงใหม่ 1.2. มีแผนการตรวจสอบภายในประจำปี 2558 2 จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (Engagement Plan) รายหน่วยรับตรวจ 2.1. มีการกำหนดแนวทางตรวจสอบภายในรายหน่วยรับตรวจ 3 การปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน 3.1. มีการออกประเมินระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน รอบที่ 1/58 จำนวน 8 รพ. จากจำนวนหน่วยรับตรวจ 24 แห่ง ซึ่งยัง ไม่ครบตามเกณฑ์ที่ สป.กำหนด สำหรับการออกประเมินระบบควบคุม ภายในและการตรวจสอบภายในรอบที่ 2/58 จะได้ดำเนินการ ตรวจสอบภายในตั้งแต่วันที่ 13 กค 58 เป็นต้นไป 4-5 รายงานผลการตรวจสอบภายในและสรุปผลการตรวจสอบภายใน 4.1. ปี 2557 ไม่มีผลสรุปการตรวจสอบภายในรอบ 12 เดือน เนื่องจาก ไม่ได้ออกตรวจสอบภายใน 4.2. ปี 2558 รอบที่ 1/58 ยังไม่มีการสรุปผลการตรวจสอบภายใน 4.3. ปี 2558 รอบที่ 2/58 ยังไม่ได้ดำเนินการตรวจสอบภายใน
36
ประเด็นที่ 2 โรงพยาบาลคุณธรรม
การดำเนินการขับเคลื่อนโรงพยาบาลคุณธรรมโดยใช้ทุนเดิม และการบูรณาการ การดำเนินงานชมรมจริยธรรมและการพัฒนาคุณภาพบริการเข้าด้วยกันเชื่อมโยงการควบคุมคุณภาพกับงานคุณธรรม ทุกหน่วยงานมีการดำเนินการอยู่ในระดับ ๓ ตัวอย่างอัตลักษณ์คุณธรรม สสจ.เชียงใหม่ คือ “ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีน้ำใจ” รพ.นครพิงค์ คือ “ซื่อสัตย์ สามัคคี จิตบริการ”
37
ข้อชื่นชม : ผู้บริหาร และทีมงานมีความมุ่งมั่นในการนำองค์กรสู่หน่วยงานคุณธรรม เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับในการดำเนินงาน และความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ส่งเสริมการทำความดีของบุคลากร ซึ่งจะทำให้มีการขยายผลและเกิดผลลัพธ์เพื่อนำสู่การพัฒนาที่ต่อยอด และมีคุณภาพที่ยั่งยืนต่อไป
38
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา :
ติดตามการดำเนินงานทั้งความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคอย่างต่อเนื่อง การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม จัด/ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อการเรียนรู้และเสริมแรง ยกระดับการดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรมสู่ระดับ ๔ ให้เกิดผลลัพธ์ และการพัฒนาที่ยั่งยืน สร้างสังคมดี มีคุณธรรม นำพาสู่คุณภาพ ต่อไป
39
หน่วยรับตรวจ มี ๔ หน่วยรับตรวจ
ประเด็นที่ ๓ การเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สำนักงานสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด หน่วยรับตรวจ มี ๔ หน่วยรับตรวจ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ มีความสำเร็จในการดำเนินการอยู่ในระหว่างการดำเนินการในระดับที่ ๔ การจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผนฯ โรงพยาบาลนครพิงค์ มีความสำเร็จในการดำเนินการอยู่ในระหว่างการดำเนินการในระดับที่ ๓ การดำเนินการตามแผน โรงพยาบาลจอมทองและโรงพยาบาลฝาง อยู่ในระหว่างการดำเนินการในระดับที่ ๑ ถึง ๔ โดยได้เร่งรัดการดำเนินการในระดับที่ยังมิได้ดำเนินการแล้ว
40
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบ 2 / 2558 สสจ.เชียงใหม่
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบ 2 / สสจ.เชียงใหม่ 1. ด้านการควบคุมและตรวจสอบภายใน 2. ด้านการเงิน 3. ด้านบัญชี 4. ด้านพัสดุ 5. ด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา 6. ด้านการจัดเก็บรายได้ 7. ด้านประสิทธิภาพการเงินการคลัง FAI
41
ปัญหาที่พบ ด้านการเงิน 1. ด้านเงินยืม
1.1. มีลูกหนี้ค้างชำระเกินกำหนด 5 ราย 1.2. ทะเบียนคุมลูกหนี้เงินยืมกับสัญญาเงินยืมค้างชำระ ไม่ตรงกัน ข้อเสนอแนะ 1. ให้ดำเนินการตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงิน ส่งคลัง ด้านการบริหารงบประมาณ/ระบบควบคุมภายใน 1. ตรวจสอบแผน-ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ 1.1. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณเบิกได้ร้อยละ 40.11 ไม่ผ่านเกณฑ์ 1. ให้มีการเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณให้ได้ตามเป้าหมาย
42
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบ 2 / 2558 โรงพยาบาลนครพิงค์
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ รอบ 2 / โรงพยาบาลนครพิงค์ 1. ด้านการควบคุมและตรวจสอบภายใน 2. ด้านการเงิน 3. ด้านบัญชี 4. ด้านพัสดุ 5. ด้านยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา 6. ด้านการจัดเก็บรายได้ 7. ด้านประสิทธิภาพการเงินการคลัง FAI
43
ปัญหาที่พบ ด้านการเงิน 1. ด้านเงินยืม
1.1. มีลูกหนี้ค้างชำระเกินกำหนด 5 ราย 1.2. ทะเบียนคุมลูกหนี้เงินยืมกับสัญญาเงินยืมค้างชำระ ไม่ตรงกัน ข้อเสนอแนะ 1. ให้ดำเนินการตามระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงิน ส่งคลัง ด้านการบริหารงบประมาณ/ระบบควบคุมภายใน 1. ตรวจสอบแผน-ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ 1.1. การเบิกจ่ายเงินงบประมาณเบิกได้ร้อยละ 35.56 ไม่ผ่านเกณฑ์ 1. ให้มีการเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณให้ได้ตามเป้าหมาย
44
ปัญหาที่พบ ด้านการจัดเก็บรายได้
1. ลูกหนี้ค่ารักษาเบิกจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง และลูกหนี้ค่ารักษา อปท. มีการบันทึกบัญชี (ข้อมูลมาจากโปรแกรมที่ รพ.ใช้ในการจัดเก็บค่ารักษา) แต่มีการส่งเบิกช้า ทำให้ยอดเงินโอนที่รับชำระค่ารักษาล่าช้า 2. ข้อมูลค่ารักษาพยาบาล ไม่สามารถตรวจสอบยืนยันผู้รับผิดชอบในการส่งเบิกค่ารักษา ไม่มีการทวนสอบข้อมูลที่งานบัญชีบันทึก 3. ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาล ยังอยู่ระหว่างการจัดทำข้อมูล ข้อเสนอแนะ 1. ส่งเบิกค่ารักษาให้ทันตามเวลาที่กำหนด 2.ควรมีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการตรวจสอบข้อมูลค่ารักษาในระบบโปรแกรมครบถ้วน ถูกต้องหรือไม่ 3. ดำเนินการจัดทำให้เรียบร้อย และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่บันทึกบัญชีกับทะเบียนคุม
45
ปัญหาที่พบ ด้านบัญชี ตรวจสอบรายงานบัญชี(งบทดลอง) ณ วันที่ 30 เมษายน 2558 พบรายการที่มีนัยสำคัญดังนี้ ประเด็นการตรวจสอบ สรุปข้อตรวจพบ 1. งานบัญชีการบันทึกบัญชีลูกหนี้ค่า รักษาเบิกตรงกรมบัญชีกลาง OPD 16,969,305 บาท มียอดลูกหนี้ คงเหลือ 121,546, บาท 2. งานบัญชีการบันทึกบัญชีลูกหนี้ค่า รักษา OPD – UC นอก CUP ในจังหวัด 8,864,195 บาท มียอด ลูกหนี้คงเหลือ 259,212,579.05 บาท งานบัญชีการบันทึกบัญชีลูกหนี้ค่า รักษาเบิกต้นสังกัด OPD 491,134 บาท มียอดลูกหนี้คงเหลือ 24,934,431 บาท ลูกหนี้ค่ารักษาค้างเป็นเวลานาน งานการเงินและงานบัญชี ไม่ได้จัดทำทะเบียนคุมลูกหนี้ค่า รักษาพยาบาลรายตัว ไม่มีการสอบยันยอดลูกหนี้ค่ารักษา ระหว่างงานเรียกเก็บกับงานการเงิน และงานบัญชี ในโรงพยาบาลมีงานเรียกเก็บหลาย แห่งและไม่สอบทานยอดเงินระหว่าง กันให้ถูกต้อง ครบถ้วน
46
ปัญหาที่พบ ด้านบัญชี ตรวจสอบรายงานบัญชี(งบทดลอง) ณ วันที่ 30 เมษายน 2558 พบรายการที่มีนัยสำคัญดังนี้ ประเด็นการตรวจสอบ สรุปข้อตรวจพบ 4. งานบัญชีการบันทึกบัญชีลูกหนี้ค่า รักษา UC OPD - AE ในจังหวัด 480,914 บาท มียอดลูกหนี้ คงเหลือ 55,488, บาท 5. งานบัญชีการบันทึกบัญชีลูกหนี้ค่า รักษา UC IPD - AE ในจังหวัด 4,199,756 บาท มียอดลูกหนี้ คงเหลือ 63,852, บาท 6. งานบัญชีการบันทึกบัญชีลูกหนี้ค่า รักษาแรงงานต่างด้าว OPD 2,870,722 บาท มียอดลูกหนี้ คงเหลือ 90,686, บาท
47
ผลกระทบ การบันทึกบัญชีบัญชีลูกหนี้ค่ารักษา OPD – UC นอก CUP ในจังหวัดบันทึกตามค่าใช้จ่ายจริงไม่ได้บันทึกตามข้อตกลง ไม่ได้บันทึกบัญชีตามนโยบายบัญชีภาคสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขทำให้ รพ.นครพิงค์บันทึกลูกหนี้ค่ารักษาสูงกว่าความเป็นจริง ลูกหนี้ค่ารักษากรมบัญชีกลาง ลูกหนี้เบิกต้นสังกัด ลูกหนี้ AE ลูกหนี้ค่ารักษาแรงงานต่างด้าว ตามบัญชีได้รับชำระในจำนวนเงินที่น้อยมากซึ่งไม่จะเป็นไปได้ที่กรมบัญชีกลาง จะค้างจ่ายเป็นเวลานานเป็นปี และลูกหนี้เบิกต้นสังกัด รพ.ก็ไม่มีการทวงถาม ลูกหนี้ค่ารักษาแรงงานต่างด้าวก็ไม่นำไปตัดจากกองทุนแรงงานต่างด้าว ทำให้โรงพยาบาลไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าลูกหนี้ค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลทั้งหมดมีตัวตนจริงหรือไม่ โรงพยาบาลเก็บเงินไม่ได้ทำให้ ณ วันที่ 30 เมษายน 2558โรงพยาบาลมีเงินสดหลังจากหักหนี้สินติดลบ 70 ล้าน ทำให้อัตราส่วนทางการเงินของโรงพยาบาลไม่มีความน่าเชื่อถือ ทำให้สถานการณ์การเงินการคลังของโรงพยาบาลไม่สะท้อนภาพที่แท้จริง
48
ปัญหาที่พบ ด้านบัญชี ตรวจสอบรายงานบัญชี(งบทดลอง) ณ วันที่ 30 เมษายน 2558 พบรายการที่มีนัยสำคัญดังนี้ ประเด็นการตรวจสอบ สรุปข้อตรวจพบ งานบัญชีบันทึกบัญชียาคงเหลือ 136,328, บาท งานบัญชีบันทึกบัญชีเวชภัณฑ์มิใช่ยาคงเหลือ 74,931, บาท งานบัญชีบันทึกบัญชีวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์คงเหลือ 100,913, บาท สำหรับวัสดุประเภทอื่นก็ไม่ตรงกับรายงานมูลค่าวัสดุในโปแกรม การจัดทำบัญชีไม่เป็นปัจจุบันจัดทำถึงเดือน เมษายน 2558 รายงานมูลค่ายาในโปรแกรมของ รพ.คงเหลือ 59,617, บาท รายงานมูลค่าเวชภัณฑ์มิใช่ยาในโปรแกรมของ รพ.คงเหลือ 8,723, บาท รายงานมูลค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ในโปรแกรมของ รพ.คงเหลือ 1,047, บาท ให้จัดทำบัญชีให้เป็นปัจจุบัน
49
ผลกระทบ การบันทึกบัญชีบัญชีประเภทสินค้าคงเหลือกับรายงานสินค้าคงเหลือในโปรแกรมของโรงพยาบาลไม่ตรงกัน ทำให้อัตราส่วนทางการเงินของโรงพยาบาลไม่มีความน่าเชื่อถือ ทำให้สถานการณ์การเงินการคลังของโรงพยาบาลไม่สะท้อนภาพที่แท้จริง
50
ข้อเสนอแนะ โรงพยาบาลใช้โปรแกรม ใช้โปรแกรม SSB ในระบบการปฏิบัติงานของโรงพยาบาลทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นงานด้านบริการ ด้านบริหาร ด้านการลงบัญชี ด้านการออกรายงานต่าง ๆ ดังนั้น โรงพยาบาลต้องทำการตรวจสอบ และสอบทานข้อมูลต่าง ๆ ใหม่ทั้งหมด หากโรงพยาบาลมีการปรับปรุงข้อมูลทุกอย่างจะต้องจัดทำกระดาษทำการในรายการปรับปรุงทุกรายการและต้องนำเสนอผู้อำนวยการโรงพยาบาลเพื่อขออนุมัติการรับปรุงรายการทุกรายการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.