ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
5
โครงสร้างและอวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซ ในสิ่งมีชีวิตต่างๆ
โครงสร้างและอวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซ ในสิ่งมีชีวิตต่างๆ
6
1. ใช้เยื่อหุ้มเซลล์และผิวหนังแลกเปลี่ยนก๊าซ
ใช้ในการแพร่ (diffusion) ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (protozoa) เช่น พารามีเซียม อะมีบา
7
ฟองน้ำ (Porifera) ยังไม่มีระบบเนื้อเยื่อ (Tissue) เซลล์เรียงตัวหลวมๆ
อาศัยกระบวนการแพร่ (diffusion) และ Active transport นำอาหารเข้าเซลล์ choanocyte แบบฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) มีเซลล์อะมีโบไซด์ (amoebocyte) ย่อยอาหาร
9
ไฮดรา (cnidarians) มีเนื้อเยื่อ (Tissue) 2 ชั้น
ช่องว่างกลางลำตัว(Gastrovascular cavity) สารอาหารขนาดเล็ก น้ำ ก๊าซ แพร่เข้าสู่เซลล์โดยตรง
10
พลานาเรีย (Platyhelminthes)
ทางเดินอาหารแตกแขนงทั่วร่างกาย ใช้การแพร่ และ Active transport
11
ไส้เดือนดิน (Annelida)
ระบบเลือดปิด (Closed circulatory system) มีหัวใจเทียม (Pseudoheart)
12
2. เหงือก (Gill) พบในสัตว์น้ำ เช่น ปลา
เส้นเลือดฝอยมีทิศทางการไหลของเลือดสวนทางกับกระแสน้ำ เรียก countercurrent exchange พบในสัตว์น้ำ เช่น ปลา
14
3. ท่อลม (tracheae): เช่น แมลง
15
ระบบท่อลม
16
4. ปอด (lung) พบในสัตว์บก เช่น หอยทากบก และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
17
1. อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำ ส่วนใหญ่ คือ
1. Trachea 2. Gills 3. Malpighian tubules 4. Book lungs
18
2. ปัจจัยสำคัญในการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ คือ
1. พื้นที่ผิวสำหรับแลกเปลี่ยนแก๊สต้องบาง 2. พื้นที่ผิวสำหรับแลกเปลี่ยนแก๊สต้องมีลักษณะ เปียกชื้น 3. พื้นที่ผิวสำหรับแลกเปลี่ยนแก๊สต้องมีหลอดเลือด 4. ทั้งข้อ 1 และข้อ 2
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.