ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
CQI ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน ประจำปี 2554
2
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา
เพิ่มศักยภาพผู้เป็นเบาหวานให้สามารถประเมินระดับน้ำตาลในเลือดได้ด้วยตนเอง
3
คำสำคัญ ผู้เป็นเบาหวาน ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหาร
4
สรุปผลงานโดยย่อ “ สีนี้ดีหรือแย่ ” ที่ช่วยให้ผู้เป็นเบาหวานมีส่วน
การพัฒนาระบบบริการเพื่อเพิ่มศักยภาพผู้เป็นเบาหวานในด้านความรู้ ทักษะให้สามารถประเมินระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองโดยใช้นวัตกรรม “ สีนี้ดีหรือแย่ ” ที่ช่วยให้ผู้เป็นเบาหวานมีส่วน ร่วมในการประเมินระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองได้อย่างถูก
5
ชื่อและที่อยู่ขององค์กร
คลินิกเบาหวาน / ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลมะขาม อ. มะขาม จ. จันทบุรี
6
สมาชิกทีม 1.นางลักษณมณ วัฒนพลาชัยกูร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
1.นางลักษณมณ วัฒนพลาชัยกูร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 2.นางฐิติรัตน์ โคกขุนทด พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 3.นางลดาวัลย์ แสนพวง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 4.นายสุรศักดิ์ อามะจันทร์ศรี เจ้าหน้าที่ชันสูตร 5. นางศรีวรรณ ภิรมย์จิตร เจ้าหน้าที่ธุรการ
7
ระดับน้ำตาลในเลือดได้ด้วยตนเอง
เป้าหมาย เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานสามารถประเมิน ระดับน้ำตาลในเลือดได้ด้วยตนเอง
8
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
จากการประเมินความรู้ ทักษะของผู้เป็นเบาหวานในด้านการประเมินระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหาร พบว่า ปี ผู้เป็นเบาหวานมีอัตราความรู้ความเข้าใจในการประเมินระดับน้ำตาลได้ด้วยตนเองร้อยละ 32.57 ซึ่งมีผลต่อกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดที่เหมาะสมได้
9
คลินิกปรึกษาร่วมกับแพทย์ และเจ้าหน้าที่ห้องชันสูตร
การเปลี่ยนแปลง คลินิกปรึกษาร่วมกับแพทย์ และเจ้าหน้าที่ห้องชันสูตร ใช้เกณฑ์ทางวิชาการในการแบ่งระดับน้ำตาล และกำหนดสัญลักษณ์เป็นสี แทนระดับน้ำตาลก่อนอาหารในเลือด
10
จัดบอร์ด " วันนี้เราจะสีอะไรดี"
เริ่มใช้ 2549
11
กราฟแสดงผลการควบคุมน้ำตาล
ขนาดA4 เริ่มใช้
12
ติดคำอธิบายกราฟที่สมุด , ระบายสีเป็นวงกลมข้างระดับน้ำตาล
13
ปรับเปลี่ยนคำอธิบาย , เพิ่มค่าระดับน้ำตาล
ปัจจุบัน
14
การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง
มีการวัดผลของการเปลี่ยนแปลงโดยการประเมินผลการบอกค่าระดับน้ำตาลในเลือดได้ถูกต้องเป็นรายบุคคลทุกครั้งที่มาเจาะเลือด การใช้แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจในการประเมินค่าน้ำตาล โดยใช้กราฟสีปีละครั้ง
15
ผลของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคือ ผู้เป็นเบาหวานยอมรับและเข้าใจผลการควบคุมระดับน้ำตาลของตนมากขึ้นจากสิ่งที่แสดงให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม เจ้าหน้าที่ในทีมสุขภาพรับรู้และเข้าใจในเกณฑ์การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด สามารถให้ข้อมูลแก่ผู้เป็นเบาหวานได้เป็นไปตามแนวทางเดียวกัน
18
บทเรียนที่ได้รับ การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่เน้นการมีส่วนร่วมควรมีการประเมินผลเป็นระยะ ๆ เมื่อพบปัญหา ก็จะต้องวิเคราะห์และแก้ไข ตัดขั้นตอนที่ยุ่งยาก ซับซ้อนต่อผู้รับบริการ ควรคำนึงถึงความสะดวก และเกิดผลดีต่อผู้รับบริการเป็นหลัก
19
ได้รูปแบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่ต้องใช้การทำงานเป็นทีม รวมทั้งมีการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน
ควรมีการติดตามเป้าหมายระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหารตามแนวทางเวชปฏิบัติโรคเบาหวานอย่างต่อเนื่อง ถ้าหากมีการเปลี่ยนแปลงค่าระดับน้ำตาลของนวัตกรรมนี้ก็จะต้องปรับเปลี่ยนให้ถูกต้องและเหมาะสมตามไปด้วย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.