ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNanthapob Praphasirirat ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
เมธี เอกะสิงห์ ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทิศทางการจัดการเรียน การสอนด้าน เกษตรศาสตร์ในระดับ สากล เอกสารประกอบการสัมมนาเรื่อง “ การปฏิรูปคณะเกษตรศาสตร์ไปสู่การเป็นองค์กรในกำกับของรัฐ ” 3 มีนาคม 2546 ณ ห้องประชุมเล็ก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2
คำถาม หลัก อะไรคือแรงขับเคลื่อนการ เปลี่ยนแปลง ? ปรับองค์กรกันอย่างไร ? หลอมรวมกันอย่างไร ? ได้อะไรจากการเปลี่ยนแปลง ? คณะเกษตรศาสตร์ มช. ควร เตรียมการอย่างไร ?
3
อะไรคือแรง ขับเคลื่อน ?
4
งบประมาณลดลง ต้องพึ่งตนเองมากขึ้น ความต้องการของสังคมและ ผู้ใช้เปลี่ยนไป คำนึงถึงทรัพยากร สิ่งแวดล้อม คำนึงถึงสุขภาพ ความ ปลอดภัยของ อาหาร แรงขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง ในมหาวิทยาลัยระดับสากล
5
งบประมาณประจำปีของ U. of Minnesota
6
งบประมาณลดลง ต้องพึ่งตนเองมากขึ้น ความต้องการของสังคมและ ผู้ใช้เปลี่ยนไป คำนึงถึงทรัพยากร สิ่งแวดล้อม คำนึงถึงสุขภาพ ความ ปลอดภัยของ อาหาร แรงขับเคลื่อน ( ต่อ )
7
กระแสโลกาภิวัฒน์ กระแสธรรมาภิบาล ความต้องการผู้ใช้บัณฑิต เปลี่ยนไป เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลง เร็ว Biotechnology, Genomics Information Technology
8
ปรับองค์กรกัน อย่างไร ?
9
การปรับเปลี่ยนที่ เกิดขึ้น : ปรับโครงสร้างการจัดการ บริหาร ปรับหลักสูตร ปรับวิธีจัดการเรียน การสอน ปรับระบบการจัดการงานวิจัยและบริการชุมชน
10
วิธีการปรับโครงสร้าง การบริหาร ยุบคณะที่มีความ ต้องการลดลง หลอมรวมคณะ หรือภาควิชา เข้าด้วยกัน สร้างสถาบันหรือศูนย์วิจัย เฉพาะทางขึ้นใหม่
11
รูปแบบในการหลอมรวม เป็นอย่างไร ?
12
การปรับเปลี่ยนเล็กน้อย ( เปลี่ยน ชื่อภาควิชา )
13
ตัวอย่ าง Agricultural Engineering Biosystems Engineering; Agricultural Systems Management Agricultural Economics Food and Resource Economics; Agricultural and Consumers Economics Agronomy Crop and Soil Science Agricultural Extension Agricultural Communication
16
การหลอมรวมแบบที่ 1
17
Biology+Botany +Microbiology Biological Sciences Agronomy+Horticulture Plant Science Agronomy+Soil Science Crop and Soil Science; Soil and Crop Science ตัวอย่างการหลอมรวมแบบที่ 1
21
การหลอมรวมแบบที่ 2 Interdisciplinary Program
27
การหลอมรวมแบบที่ 3
30
การหลอมรวมแบบที่ 4
31
ตัวอย่าง UPLB เดิม
32
Office of the Colleges Secretary Associate Dean for Research, Development and Extension Associate Dean for Instruction and Student Affairs Liaison and Alumni OfficeCA Foundation Coordinator for Distance Education and Diploma Program Central Experiment Station La Granja Experiment Station CA Publication Office DEAN Institute of Crop Science Institute of Plant Protection Institute of Animal/ Diary Science Agricultural Systems Institute Institute of Food Science โครงสร้างใหม่ของคณะ เกษตรศาสตร์ UPLB
33
ตัวอย่างการจัดหลักสูตรตามกระแสการเปลี่ยนแปลง
34
ได้อะไรจากการหลอม รวม ?
35
สิ่งที่ได้จากการ หลอมรวม : ดึงดูดนักศึกษามากขึ้น ได้องค์กรที่ตรงตามภาระกิจที่เปลี่ยนไป ใช้ทรัพยากรมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการบริหาร
36
การปรับหลักสูตรและการเรียน การสอน เน้นทักษะด้าน การสื่อสาร ( เขียน อ่าน อภิปราย และ เสนอผลงาน ) คิดและใช้ข้อมูลเชิงปริมาณเป็น ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ( วางแผน และ ดำเนินกิจกรรมตาม เป้าหมาย ) วางยุทธศาสตร์เพื่อเรียนรู้ด้วยตนเองได้
37
การปรับหลักสูตรและการเรียน การสอน ( ต่อ ) เพิ่มเติมองค์ความรู้ใหม่ใน หลักสูตร Biotechnology Ecology Spatial Information Systems Modeling and Simulation Decision Making and Problem Solving Consumer Science Business and Management Communication Participatory Technique
38
จัดการเรียนการสอน แบบใหม่ Students Center Distance Learning E-learning Virtual Campus การปรับหลักสูตรและการเรียน การสอน ( ต่อ )
39
ตัวอย่างการจัดกระบวนวิชาเกษตร เบื้องต้นแนวใหม่
40
คณะเกษตรศาสตร์จะปรับเปลี่ยนอย่างไร ?
48
ก่อนหลอม รวม : จัดทำแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Plan) กำหนดหลักเกณฑ์ในการหลอมรวม วิเคราะห์ความเป็นไปได้
49
แผนยุทธศาสตร์ของ U. of Minnesota
50
แผนยุทธศาสตร์ U. of Illinois
51
หลักเกณฑ์ในการ พิจารณาหลอมรวม ดึงดูดความสนใจของนักศึกษา มีความหมายทางวิชาการที่ชัดเจน สอดคล้องกับพันธกิจ การใช้ทรัพยากรมีประสิทธิภาพขึ้น ขจัดความซ้ำซ้อน เสริมสร้างปฏิสัมพันธ์และความ ร่วมมือกันในองค์กร ลดค่าใช้จ่ายในการบริหาร
52
สรุป แรงขับเคลื่อนที่ทำให้มีการปรับ องค์กรคณะ เกษตรศาสตร์ชั้นนำ ในระดับสากลมีลักษณะคล้ายคลึง กัน ลักษณะการหลอมรวมแตกต่าง กันตามประวัติ การจัดตั้ง เอกลักษณ์ และจุดเน้น ของแต่ละแห่ง
53
สรุป มีการปรับหลักสูตร และวิธีการเรียน การสอนใหม่อย่างเห็นได้ชัด ตาม ความต้องการของสังคม ประเด็น ปัญหาใหม่ และการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยี การปรับองค์กรทุกแห่งเกิดขึ้น ภายหลังจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยและคณะเกษตรศาสตร์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.