ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTiloka Kwaigno ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 โดย นางสุนิสา ประไพตระกูล กลุ่มคุณภาพและมาตรฐานสินค้าเกษตร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
2
2.ประเมินสถานการณ์ การดำเนินงาน (ก.)
ที่มา...การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนใน ปี ประเทศสมาชิก 10 ประเทศต้องใช้มาตรฐานการผลิตเดียวกัน โครงการเตรียมความพร้อมสินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่และเกษตรกรมีความพร้อมในเวทีประชาคมอาเซียน เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานอาเซียน (ASEAN GAP) สามารถรักษาฐานการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรไทยคุณภาพดีในระดับอาเซียน เป้าหมาย 77 จังหวัด เกษตรกร 6,200 ราย กิจกรรมสนับสนุน 1.พัฒนาเจ้าหน้าที่ 130 คน (ก.) 2.ประเมินสถานการณ์ การดำเนินงาน (ก.) กิจกรรมหลัก พัฒนาเกษตรกรสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 2,320 คน (58 จ.ๆ ละ 40 คน รวม ) กิจกรรมหลัก เตรียมความพร้อมและพัฒนาสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 3,880 คน (77 จ.ๆ ละ คน ) กิจกรรมหลัก พัฒนากลุ่มนำร่อง ผู้ผลิตสินค้าเกษตรสู่อาเซียน 8 กลุ่ม (ผู้ปลูก ทุเรียน มังคุด มะม่วง ลำไย และกล้วยไม้) Out put เกษตรกร 6,200 ราย ได้รับความรู้และการเตรียมความพร้อมให้เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP Out come เกษตรกรมีการปรับตัวและเตรียมความพร้อมต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 13/04/60
3
ที่มา/ความสำคัญของโครงการ
1. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี สมาชิก 10 ประเทศ ต้องใช้มาตรฐานเดียวกัน 2. นโยบายกระทรวงเกษตรฯ การเตรียม ความพร้อม ของภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน 3. สินค้าเกษตรมีการแข่งขันสูง มีการ กีดกันทางการค้า ที่ไม่ใช่ภาษี จำเป็นต้องมี มาตรฐานรองรับ 4. สนับสนุนความปลอดภัยด้านอาหาร พัฒนาชีวิตเกษตรกร และรักษาสิ่งแวดล้อม
4
วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่และเกษตรกรให้มีความพร้อม ในเวทีประชาคมอาเซียน เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ASEAN GAP (มกษ ) เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน ASEAN GAP สามารถรักษาฐานการผลิตและการตลาดสินค้า เกษตรไทยคุณภาพดีในระดับอาเซียน 13/04/60
5
กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 พัฒนาเกษตรกรสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 2,320 คน (ผู้ผลิตทุเรียน มังคุด ลำไย มะม่วง 58 จังหวัดๆละ 40 คน จังหวัดที่เคยดำเนินงานในปี 2557 ) การเตรียมความพร้อมและพัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP จำนวน 3,880 คน (อบรมเกษตรกร 77 จังหวัดๆ ละ คน)
6
กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 3. พัฒนากลุ่มนำร่องผู้ผลิตสินค้าเกษตรสู่อาเซียน (กลุ่มนำร่องผู้ผลิต ไม้ผล 4 ชนิด ทุเรียน มังคุด ลำไย มะม่วง 7 กลุ่ม และกล้วยไม้ 1 กลุ่ม) 1. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 ราชบุรี กล้วยไม้ 2. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 ระยอง ไม้ผล 3. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 ขอนแก่น ไม้ผล 4. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 สงขลา ไม้ผล 5. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 เชียงใหม่ ไม้ผล 6. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 นครราชสีมา ไม้ผล 7. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 สุราษฎร์ธานี ไม้ผล 8. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 9 พิษณุโลก ไม้ผล
7
กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 4. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อม เจ้าหน้าที่เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP (ส่วนกลาง) 5. ประเมินสถานการณ์การดำเนินงานเตรียมความพร้อม เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP (ส่วนกลาง)
8
ตัวชี้วัดโครงการ ผลผลิต ผลลัพท์
- เกษตรกร จำนวน 6,200 ราย ได้รับความรู้และ เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ระบบมาตรฐาน ASEAN GAP ผลลัพท์ - เกษตรกรมีการปรับตัวและเตรียมความพร้อมต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
9
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.