ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThanid Poolvaraluck ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
2
วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันการทำวิจัย ซ้ำซ้อน 2. ช่วยชี้ว่างานวิจัยที่จะทำ อยู่ที่จุดใด จะช่วย เพิ่มองค์ความรู้ตรงไหน
3
3. ช่วยให้เกิดความคิดและ ทิศทางการวิจัย - เทคนิคการทำวิจัย - แหล่งข้อมูล - วิธีการศึกษา - การแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้นระหว่างวิจัย
4
4. ช่วยพัฒนาความคิดใน การออกแบบการวิจัย 5. ช่วยให้เกิดแนวคิดใน ปัญหาวิจัย / สมมติฐาน การวิจัย 6. ช่วยให้ข้อมูลพื้นฐาน สำหรับการวิจัย
5
แง่มุมในการทำ วรรณกรรมปริทัศน์ 1. ศึกษาตนเอง เพิ่มความรู้ ความมั่นใจให้แก่ นักวิจัย 2. ศึกษาเนื้อหาสาระให้เห็น ภาพกว้างของงานวิจัยที่ จะทำ 3. ศึกษาพัฒนาการของ ประเด็นที่จะทำวิจัย
6
4. ศึกษาในเชิงทฤษฎีว่า เกี่ยวข้องกับประเด็น ปัญหาวิจัยอย่างไร 5. ศึกษาวิธีวิจัยของงานแต่ ละชิ้น 6. ศึกษาบูรณาการเพื่อ สรุปว่า ความรู้ที่มีในขณะ นั้นมีอะไรบ้าง
7
ประโยชน์ของ วรรณกรรมปริทัศน์ 1. เกิดความคิดในปัญหาที่ จะทำวิจัย 2. ชี้จุดแข็ง จุดอ่อนใน งานวิจัยที่อ่าน 3. บ่งชี้ทฤษฎีที่สามารถ นำมาใช้ในการศึกษา 4. เสนอแนะวิธีการที่จะใช้ ในการศึกษา 5. ช่วยอธิบายเทคนิคการ เก็บข้อมูลและ เครื่องมือที่ใช้
8
6. ช่วยให้เทคนิคเกี่วกับการ แบ่งประเภทข้อมูล 7. ช่วยชี้แนะการทำตาราง และกราฟ 8. ช่วยแสดงวิธีตีความ ผลการวิจัย 9. แสดงวิธีการเสนอ ผลการวิจัย 10. เสนอแนะแหล่งสำหรับ พิมพ์ผลการวิจัย
9
แนวทางการอ่าน / บันทึกผลงานวิจัย 1. ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ปีที่ เขียน ( เพื่อการอ้างอิง ) 2. ปัญหาวิจัยและ / หรือ วัตถุประสงค์การวิจัย 3. วิธีการศึกษา 4. ตัวแปรนการศึกษา
10
5. ข้อมูลและวิธีการเก็บ ข้อมูล 6. การวิเคราะห์ข้อมูล 7. ผลการวิจัย ( ข้อ ค้นพบ ) 8. ข้อสรุป
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.