งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทบทวน ก่อนสอบกลางภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทบทวน ก่อนสอบกลางภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทบทวน ก่อนสอบกลางภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗
๐๑๙๙๙๐๓๒ ไทยศึกษา Thai Studies ทบทวน ก่อนสอบกลางภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗

2 คำเตือน โปรดตรวจสอบการทำงานกิจกรรมกลุ่มของตนเอง “ต่อยอดขยายผล” ๑๕ คะแนน (รายงานตัวกับอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม ออกศึกษานอกสถานที่ ณ แหล่งเรียนรู้ที่จับฉลากได้ – กำหนดหัวข้อรายงาน – ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง – ปรึกษาอาจารย์ – นำเสนอรายงานตามกำหนด – ไม่ต้องทำรายงานเล่ม – ส่งแบบรายงานผลการทำงาน) กลุ่มของเราดำเนินการไปถึงไหนแล้ว? โครงการ “สัปดาห์ไทยศึกษา” ๒๕ คะแนน (เตรียมหัวข้อ – เสนอหัวข้อต่อ อ.วรรณา ภายในสัปดาห์แรกหลังสอบกลางภาค – พบอาจารย์ที่ปรึกษา – เก็บข้อมูล – ประมวลข้อมูล – พบอาจารย์ – นำเสนอรายงานในชั้นเรียน / จัดบอร์ดหรือเผยแพร่ข้อมูลสู่ประชาคมด้วยวิธีอื่น ในสัปดาห์รองสุดท้ายของภาค – ส่งรายงานเล่ม – ส่งแบบรายงานผลการทำงาน) หา(หัวข้อ)เรื่องได้ทันทีที่จบต่อยอดฯ

3 โปรดเข้าประเมินทุกรายวิชา
กำหนดประเมินการเรียนการสอน ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๑ โปรดเข้าประเมินทุกรายวิชา ๒๙ ก.ย.-๑๐ ต.ค. ๒๕๕๗

4 หัวข้อที่กำหนดนำเนื้อหามาสอบกลางภาค
การค้นพบทางโบราณคดีกับไทยศึกษา ประวัติศาสตร์สยาม-ไทย ก่อนอยุธยา อยุธยา-ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ สยาม-ไทยสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบัน ภูมิหลังทางศาสนา-ความเชื่อในสังคม-วัฒนธรรมไทย: พุทธ พราหมณ์-ฮินดู คริสต์ อิสลาม ซิกข์ ขงจื้อ เต๋า ฯลฯ เข้าใจ ภาษาไทย วรรณคดีกับสังคมไทย ภาพรวมจากสุวรรณภูมิ -สยามประเทศไทย

5 การค้นพบทางโบราณคดีกับไทยศึกษา ผศ.ดร.วรชัย วิริยารมภ์
การค้นพบทางโบราณคดีกับไทยศึกษา ผศ.ดร.วรชัย วิริยารมภ์ ความแตกต่างระหว่าง “สมัยก่อนประวัติศาสตร์ prehistoric” กับ “สมัยประวัติศาสตร์ historic” โบราณคดี ก่อนประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี นักประวัติศาสตร์ - นัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการดำรงชีพ ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุที่ค้นพบกับพัฒนาการทางเทคโนโลยี/ความเชื่อ/สภาพแวดล้อม/สังคม วัตถุ, สิ่งของ ที่ขุดค้น/ค้นพบ เอกสาร / วัตถุที่ร่วมสมัยกับเอกสาร โบราณคดี สมัยประวัติศาสตร์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์แบ่งตาม เทคโนโลยี/วัสดุในการผลิต ตามแบบแผนการดำรงชีพ ตามแนวธรณีวิทยา ความรู้ที่ได้จาก สิ่งที่ขุดค้นพบ มีมนุษย์ดึกดำบรรพ์ อาศัยอยู่บนแผ่นดินนี้ หลายสมัย ผลการขุดค้นทางโบราณคดี บนแผ่นดินที่ปัจจุบัน เป็นประเทศไทย มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์บนแผ่นดินนี้มีวิวัฒนาการตั้งแต่เร่ร่อนเก็บหาของป่าล่าสัตว์จนถึงตั้งชุมชนเกษตรกรรมแล้วพัฒนาเป็นชุมชนเมือง พบร่องรอยมนุษย์ดึกดำบรรพ์ สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ

6 ตัวอย่างวัตถุ, สิ่งของที่ขุดค้น/ค้นพบด้วยวิธีการทางโบราณคดี
โครงกระดูก ภาพเขียนบนผนังถ้ำ/เพิงผา ภาชนะ/เครื่องปั้นดินเผา อาวุธ เครื่องมือล่าสัตว์ เมล็ดข้าว ลูกปัด กำไล สิ่งที่พบในหลุมฝังศพ แวดินเผา

7 แหล่งโบราณคดีบนแผ่นดินประเทศไทยปัจจุบัน
ที่พบร่องรอยวิถีชีวิตสมัยล่าสัตว์-เก็บหาของป่า และ สมัยเกษตรกรรม Archaeological sites in the present-day Thailand where evidences have been found to prove human ways of life in the hunting-gathering culture and the farming/agricultural culture.

8 สยาม-ไทย ก่อนอยุธยา-ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ. ศ. ๒๔๗๕ อ
สยาม-ไทย ก่อนอยุธยา-ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ อ. สิทธารถ ศรีโคตร และ อ.ศรัญญู เทพสงเคราะห์ กำเนิดรัฐในสุวรรณภูมิ และการรับอารยธรรมอินเดีย วัฒนธรรมในสุวรรณภูมิสมัยแรกๆ ศาสนา/ ระบบการปกครอง / ขนบธรรมเนียมในราชสำนัก ทวารวดี/ฟูนัน /ศรีวิชัย ฯลฯ ปัจจัยกำหนดสถานะชุมชน/ เมือง / แคว้น การรับวัฒนธรรมต่างแดนและปรับเป็นวัฒนธรรม ของตนเอง รัฐสมัยหลังและการรวมตัวเป็นรัฐสยาม สุโขทัย รัตนโกสินทร์/ กรุงเทพฯ ละโว้ สุพรรณภูมิ อยุธยา ธนบุรี ภาวะแห่งการเป็นสังคมหลากชาติพันธุ์ หลายความเชื่อ ผลกระทบต่อวัฒนธรรม สังคม การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ อันเกิดจากวัฒนธรรม/ภัยคุกคามจากภายนอก

9 สยาม-ไทย สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบัน
สยาม-ไทย สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบัน แนวคิดในระบบการปกครองเดิม (อยุธยา -รัตนโกสินทร์) การเปลี่ยนแบบธงชาติ และตราแผ่นดิน พ.ศ.๒๔๕๘ สมัยรัชกาลที่ ๖ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ / เทวราชา + ศักดินา การเปลี่ยนแปลงสมัยกรุงเทพฯ หลังพ.ศ.๒๔๗๕ ประชาธิปไตย / ปฏิวัติ / รัฐประหาร / ฉีกรัฐธรรมนูญ / เลือกตั้ง / ร่าง-แก้ไขรัฐธรรมนูญ การเปลี่ยนแปลงชื่อประเทศ สยาม – ไทย พ.ศ.๒๔๘๒ SIAM SIAM

10 ศาสนาและความเชื่อในวัฒนธรรมไทย อ. ชัชวาลย์ ชิงชัย / รศ. ดร
ศาสนาและความเชื่อในวัฒนธรรมไทย อ.ชัชวาลย์ ชิงชัย / รศ.ดร.อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล /อ.ธีรนันท์ ช่วงพิชิต พัฒนาการจากความเชื่อว่า animism สู่ความเชื่อ/ศาสนาจากต่างแดน จากอินเดีย: ศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาซิกข์ จากตะวันออกกลาง: อิสลาม, บาไฮ จากยุโรป(ต้นกำเนิดคือตะวันออกกลาง): คริสต์ ทบทวนหลัก-แนวปฏิบัติสำคัญ ของแต่ละศาสนา / การรับเข้ามา สู่สังคมสุวรรณภูมิ-สยาม/ประเทศไทย การปรับเข้ากับสังคม และวัฒนธรรมสยาม-ไทย / บุคคลสำคัญทางศาสนาที่มีบทบาท ต่อสังคมไทย จากจีน: ขงจื๊อ เต๋า

11 พุทธ ขงจื้อ คริสต์อิสลาม
ในเมืองหลวง ชุมชนหลายแห่ง มีประชากร ที่มีเชื้อชาติ และนับถือศาสนาต่างกัน อาศัยอยู่ร่วมกัน หรือใกล้ชิดกัน โดยปราศจาก ความขัดแย้ง พุทธ พราหมณ์-ฮินดู รัตนโกสินทร์ตอนต้น พุทธ ซิกข์ ธนบุรี พุทธ ขงจื้อ คริสต์อิสลาม พุทธเถรวาท/ มหายาน ขงจื๊อ คริสต์ อิสลาม

12 เข้าใจภาษาไทย อ. ดร. ปนันดา เลอเลิศยุติธรรม รศ. ดร
เข้าใจภาษาไทย อ.ดร.ปนันดา เลอเลิศยุติธรรม รศ.ดร.ชไมภัค เตชัสอนันต์ และ อ.ดร.นัทธ์ชนัน นาถประทาน ลักษณะภาษา: ภาษาไทยอยู่ในตระกูลภาษาไท เป็นภาษาคำโดด ตัวอักษรไทยปรับจากแบบตัวอักษรโบราณ มีรูปวรรณยุกต์ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ภาษาในสังคมไทย: ภาษาถิ่น(ตามภูมิลำเนา/ตามกลุ่มสังคม/อาชีพ/เพศ ฯลฯ) ทั้งตัวอักษรไทย และภาษาไทยมีวิวัฒนาการ และการเปลี่ยนแปลง มาโดยตลอด มีการสร้างคำใหม่ ปัจจัยสำคัญคือ วัฒนธรรม/เทคโนโลยีที่รับจากต่างชาติ เกิดการปน/ยืม/สลับภาษา ต้องพัฒนาไปพร้อมกับอนุรักษ์ การปฏิรูปตัวเขียน ฯลฯ ในสมัยรัชกาลที่ ๖ ต้องเริ่มมีหน่วยงาน เฝ้าระวัง พัฒนา และทำให้ภาษาไทยเป็นมาตรฐาน ตำรา สอนภาษาไทย เล่มแรก แต่งสมัยอยุธยา

13 วรรณคดีไทย: ผลงานสร้างสรรค์ เพื่อตอบสนอง/สะท้อนสังคมทุกยุคสมัย
รัชกาลที่ ๖ ทรงบัญญัติศัพท์ ‘วรรณคดี’ และ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชกฤษฎีกาตั้ง“วรรณคดีสโมสร" เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๗ วรรณคดีกับสังคมไทย อ.พรรณราย ชาญหิรัญ อ.รัตนพล ชื่นค้า อ. ฟาริส โยธาสมุทร ๒๕๕๕ ๒๕๕๗??? รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วรรณคดีไทย: ผลงานสร้างสรรค์ เพื่อตอบสนอง/สะท้อนสังคมทุกยุคสมัย

14 ภาพรวมจากสุวรรณภูมิ-สยาม ประเทศไทย อ. วรรณา นาวิกมูล อ. ดร
ภาพรวมจากสุวรรณภูมิ-สยาม ประเทศไทย อ.วรรณา นาวิกมูล อ.ดร.กฤตยา ณ หนองคาย สังคมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สังคมสุวรรณภูมิ ก่อนสยาม กำเนิดและการขยายตัวของ ชุมชนเป็นรัฐ เป็นอาณาจักร การรับอิทธิพลจากต่างแดน โดยเฉพาะอินเดีย สังคมสยาม-ไทย - (ละโว้ สุโขทัย ฯลฯ) อยุธยา - ธนบุรี - รัตนโกสินทร์/กรุงเทพฯ - การรับอิทธิพลจากต่างแดน โดยเฉพาะฝรั่ง - การดำรงอยู่ท่ามกลางความ หลากหลายของชาติพันธุ์ ศาสนา/ ความเชื่อ

15 นี่คือกรอบความรู้ ที่นิสิตได้เรียนมา ในครึ่งแรกของภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗

16 จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค
จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค องค์ประกอบของข้อสอบ คะแนนเต็ม ๒๕ ปรนัย ๔ ตัวเลือก ๑๐๐ ข้อ ๒๐ คะแนน เนื้อหา: การค้นพบทางโบราณคดีกับความเข้าใจเรื่องไทยศึกษา สังคม การเมือง การปกครองของรัฐสยาม-ไทย ก่อน และ หลัง พ.ศ. ๒๔๗๕ ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และศาสนาอื่นๆ กับสังคมและวัฒนธรรมไทย ความเข้าใจภาษาไทย + อัตนัย เติมคำในช่องว่างให้ถูกต้อง ทั้งความหมายและการสะกดคำ ๑๐ ข้อ ๕ คะแนน เนื้อหาจาก บทนำ ไทยศึกษา+จากหัวข้ออื่นๆ

17 จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค
จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค วันอาทิตย์ที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น. วัน/เวลา สถานที่ หมู่ ๑ ศศ., ศษ, สค.,วศ. ศร.๑-๓๓๒ หมู่ ๑ อื่นๆ + หมู่ ๒ ศษ ศร.๑-๒๑๓ หมู่ ๒ อื่นๆ ศร.๑-๓๓๓ หมู่ ๑๒๐ ศร.๑-๒๒๕ รหัส ๕๗๑๐๗๕๐๐๑๘-๕๗๑๐๗๕๑๙๒๘ หมู่ ๑๒๐ ศร.๑-๒๒๖ รหัส ๕๗๑๐๗๕๑๙๓๖-๕๗๑๐๗๕๒๙๒๔

18 อย่าลืมบัตรประจำตัวนิสิต
ตรงต่อเวลา และสถานที่ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม จากเว็บไซต์ ของฝ่ายวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป แต่งกาย ไม่ถูกระเบียบไม่ได้เข้าสอบแน่นอน

19

20

21  ขอให้ นิสิตทุกคนโชคดี !!!
ท้ายที่สุด…  ขอให้ นิสิตทุกคนโชคดี !!!


ดาวน์โหลด ppt ทบทวน ก่อนสอบกลางภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google