ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSongpob Suppamongkon ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การสุขศึกษา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรฐานงานสุขศึกษา
สาเหตุของปัญหาสุขภาพของบุคคล 1. พฤติกรรมของบุคคล 2. พันธุกรรม 3. สภาพสิ่งแวดล้อม
2
2. ความรู้สึก อารมณ์ เจตคติ - วัดได้
มิติพฤติกรรมสุขภาพ 1. ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ พฤติกรรมภายใน 2. ความรู้สึก อารมณ์ เจตคติ วัดได้ 3. การแสดงออก การกระทำ พฤติกรรมภายนอก - วัดได้
3
ระดับพฤติกรรมใครต้องการให้เกิดขึ้น
ต้องการทุกระดับให้เกิดขึ้น 1. ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ (Cognitive domain) 2. ความรู้สึก อารมณ์ เจตคติ (Aftective domain) 3. การแสดงออก การกระทำ (Psychomotor domain) ทุกอย่างประกอบมีผลต่อการแก้ไขปัญหาสุขภาพของบุคคล และของชุมชนทั้งสิ้น
4
องค์ประกอบพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป
1.เปลี่ยนความรู้ทางบวก แม้ว่าตนเองไม่ได้ทำ สามารถบอกลูกทำ หรือสอนแนะนำคนอื่นได้ 2.เปลี่ยนความรู้สึกทางบวก ไม่รังเกียจผู้ป่วยเอดส์ ไม่ต่อต้านกิจกรรมสุขภาพ 3.เปลี่ยนการกระทำทางบวก นำไปสู่การลดปัญหา
5
4. การกระทำบ่อยๆ นิสัย พฤติกรรมคงทน ส่งเสริมให้พฤติกรรมคงทนถาวร ลดอัตราการป่วย ลดปัญหาสุขภาพ ลดอัตราการตาย
6
การแก้ไขพฤติกรรมสุขภาพ
1. การบังคับโดยมาตรการต่างๆ ถูกบังคับเพื่อเปลี่ยน 2. การเรียนรู้ สมัครใจเปลี่ยนด้วยตนเอง
7
การเรียนรู้ 1. ไม่ได้วางแผนเพื่อเรียนรู้ 1.1 การเห็นตัวอย่างโดยบังเอิญ
1.2 ประสบการณ์โดยตรงเกิดกับตนเอง 1.3 การลองผิดลองถูก 1.4 ฯลฯ
8
2. การวางแผนเพื่อการเรียนรู้ การสุขศึกษา
2.1 ต้องมีข้อมูลของปัญหาคืออะไร 2.2 ต้องมีข้อมูลสาเหตุของปัญหา 2.3 ต้องมีแผนงานว่าจะทำอะไร 2.3.1 เป้าหมายที่ต้องการคือใคร 2.3.2 วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการเปลี่ยนคืออะไร มากน้อยแค่ไหน 2.3.3 ต้องมีวิธีการที่ทำให้การเรียนรู้เกิดขึ้น 2.3.4 ต้องมีวิธีการวัดได้ว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นหรือไม่ มากน้อยเท่าใด
9
การสุขศึกษาต้องเกิดจากการวางแผนการเรียนรู้ไม่ใช่เป็นการเรียนรู้แบบบังเอิญ หรือตามบุญตามกรรม หรือตามธรรมชาติ เพราะอาจ - ใช้เวลานาน - ความรุนแรงของสุขภาพอาจเพิ่มขึ้นเกินความสามารถที่จะแก้ไขได้ในคนนั้น - ปัญหาอาจขยายไปสู่บุคคลอื่นได้ - เสียงบประมาณมากในการแก้ไขภายหลัง
10
มาตราฐานงานสุขศึกษาจึงต้องเป็นการวางแผนอย่างเป็นระบบ ต้องดำเนินการเป็นขั้นตอน ต้องแสดงให้ทราบได้ว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นหรือไม่ เกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด นำไปสู่การลด,หรือขจัดปัญหาสุขภาพได้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด นานแค่ไหน
11
แผนการตรวจประเมินมาตรฐานงานสุขศึกษา ปี 2556 (ตรวจผลงานในปีงบประมาณ ปี 2555)
- มกราคม 2556 กองสุขศึกษาแจ้งเรื่องถึงจังหวัดในการส่ง เอกสาร ม.ส.4 พร้อมแจ้งอัตราค่าตรวจประเมิน - มกราคม เมษายน 2556 จังหวัดส่งเอกสาร ม.ส.4 ให้สมาคมวิชาชีพสุขศึกษา - มีนาคม มิถุนายน 2556 ทีมประเมินมาตรฐานลง ตรวจสถานบริการ - สิงหาคม 2556 กรรมการรับรองมาตรฐานประชุมตัดสินผล การตรวจประเมิน - จัดประชุมมอบใบรับรองมาตรฐานภายใน ปี 2556
12
อัตราการตรวจประเมิน 1 – 4 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 14,500 บาท
1 – 4 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 14,500 บาท 5 – 9 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 12,500 บาท 10 – 25 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 10,900 บาท > 25 แห่ง ค่าตรวจแห่งละ 9,900 บาท
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.