ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRatanankorn Maneerattana ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การจัดทำแผนงาน/โครงการและการติดตามกำกับ และประเมินผล
อริยะ บุญงามชัยรัตน์, DrPH, MHSA กองแผนงาน กรมควบคุมโรค โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการวางแผนยุทธศาสตร์สุขภาพ จังหวัดนนทบุรี ปี 2557
2
กรอบการเรียนรู้ ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากครั้งที่แล้ว
การจัดทำแผนงาน/โครงการ การติดตามและประเมินผล
3
สิ่งที่ให้เตรียมจากครั้งที่แล้ว
ผลการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ปัญหาสุขภาพ ข้อจำกัดในการวิเคราะห์ เป้าประสงค์ที่จะดำเนินการ เช่น พัฒนา ปรับปรุง สร้าง เร่งรัด ฯลฯ ใช้ log-frame
4
สรุปขั้นตอนการวิเคราะห์สถานการณ์ของพื้นที่
กำหนดกรอบการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ ถูกต้อง แม่นตรง น่าเชื่อถือ (แหล่งที่มา) ครอบคลุม ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน เหมาะสมกับการใช้งาน จัดลำดับความสำคัญ นำประเด็นปัญหามาวิเคราะห์เชื่อมโยง สาเหตุปัญหาและผลกระทบ นำไปสู่แนวทางการพัฒนา แหล่งข้อมูล ภายในองค์กร (Internal Data Source) ภายนอกองค์การ (External Data Source) ปัญหาของข้อมูล - ข้อมูลมีความผิดพลาด - ข้อมูลไม่ทันต่อการใช้งาน - ข้อมูลไม่เหมาะสมกับการใช้งาน - ข้อมูลที่ต้องการไม่มีอยู่ในระบบ
5
Org. Products & Services
Frame for Plan of Action Strategic formulation Strategic planning Strategic forum Situation Analysis Priority setting Gap analysis Goal setting Need identifying Strategy champions Action Plans Strategic Objective Strategy KRI/ KPI Chronic Dz. Acute Dz. Well-controlled Dz. Milestone Resources Approaches 10 MOPH integrated plans MOPH reform (NHA Roles) Org. Vision & Mission Org. Products & Services Statistics Progress Benchmark Budget Time Manpower IT Setting คือ พื้นที่ ที่ Host มีโอกาสสัมผัสกับ Agent Strategic formulation ต้องชัดเจน ก่อน Strategic planning ต้องระบุความต้องการในการดำเนินการ Action Plans แผนงานโครงการที่ดี ต้องมีการระบุชื่อผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน Resources Necessity Method Process Present burden of problem Severity of problem Ease of management or Feasibility Public perception Social & economic impact
6
Result-Based Management
ผลสัมฤทธิ์ RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUT กิจกรรม PROCESS ผลผลิต OUTPUT ผลลัพธ์ OUTCOMES EFFICIENCY: ประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ OBJECTIVES : สร้าง เร่งรัด พัฒนา ??? ปัจจัยนำเข้า : จากการสำรวจ EFFECTIVENESS : ประสิทธิผล
7
From strategic plan to operational plan
8
การจัดทำแผนงาน/โครงการ
โดยเครื่องมือ Logical framework
9
Logical Framework กรอบแนวทางที่อธิบายเหตุและผลทางตรรกวิทยา โดยกำหนดเงื่อนไข “ถ้า...แล้ว” แสดงถึงความสัมพันธ์ของการลงทุน กิจกรรม และผลที่จะได้รับ ใช้ตรวจสอบองค์ประกอบของแผนงาน/โครงการ อย่างเป็นระบบ แสดงให้เห็นว่าแผนงาน/โครงการนั้น ต้องการจะทำอะไร และเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จอะไร ช่วยจัดเตรียม หรือวางแผนแผนงาน/โครงการ และเป็นประโยชน์ต่อการติดตามประเมินผล
10
Logic model may also be called…
Theory of change Program action Model of change Conceptual map Outcome map Program logic
11
Simplest form of logic model
INPUTS OUTPUTS OUTCOMES in its simplest form, a logic model is a graphic representation that shows the logical relationships between: The resources that go into the program – INPUTS The activities the program undertakes – OUTPUTS The changes or benefits that results – OUTCOMES
12
A bit more detail INPUTS OUTPUTS OUTCOMES What we invest What we do
Activities Participation Short Medium Program investments Long-term What we invest What we do Who we reach What results SO WHAT?? What is the VALUE?
13
Project Format Title : ชื่อโครงการ
Background / Rationale : หลักการและเหตุผล Situational Analysis : วิเคราะห์สถานการณ์ Goal : เป้าประสงค์ Objective : วัตถุประสงค์ Target : เป้าหมาย
14
Project Format Strategy / Tactic : กลยุทธ์ / กลวิธี
Method / Activity : กิจกรรม Time (Project Period) : ระยะเวลาดำเนินการ Budget : งบประมาณ Responsible Unit : ผู้ (หน่วยงาน) รับผิดชอบ Monitoring / Evaluation : การติดตามกำกับและประเมินผล Expected outcome : ผลที่คาดว่าจะได้รับ
15
Program Format 1.A 1.1 a 1.2 b 1.3 c 2.B 2.1 d 2.2 e …… Task/ Activity
Objective Target % Indicator เท่าไร Baseline Time Budget Responsible Unit (ผู้รับผิดชอบ) ต้องร่วมทำตามบทบาทที่เกี่ยวข้อง 1.A 1.1 a 1.2 b 1.3 c 2.B 2.1 d 2.2 e …… ผป.เบาหวานได้รับการรักษาและควบคุมระดับน้ำตาลได้
16
ประเด็นโรคและภัยสุขภาพสำคัญ ของพื้นที่เขต “ตัวอย่าง”
Chronic Dz Acute Dz Well-Controlled Dz DM ไข้เลือดออก EPI หัวใจและหลอดเลือด โรคเรื้อน อุบัติเหตุ มาลาเรีย เท้าช้าง TB อาหารเป็นพิษ HIV /AIDs/STI มือ เท้า ปาก ยาสูบ Env-occ (Sulfide, Ammonia, อุบัติเหตุจากการทำงาน) Alcohol EID Env-occ (ซิลิโคสิส/หูเสื่อม/สารเคมีกำจัดศัตรูพืช) IC *ตัวหนังสือสีแดง หมายถึง โรคและภัยสุขภาพที่ได้จากการกระบวนการวิเคราะห์จุดเน้น 5 ปี
17
ประเด็นโรคและภัยสุขภาพสำคัญของพื้นที่เขต “ตัวอย่าง”
หลังจัดลำดับความสำคัญ* Chronic Dz Acute Dz Well-Controlled Dz DM DHF EPI หัวใจและหลอดเลือด Food poisoning Leprosy RTAs EID เท้าช้าง TB Hand Foot Mount HIV /AIDS/STI Malaria Alcohol Hospital Infection Control** Tobacco Env-occ (Sulfide, Ammonia, อุบัติเหตุจากการทำงาน)** Env-occ (Silicosis/Hearing impairment)/pesticides) *ตามเกณฑ์แนวทางการจัดลำดับความสำคัญ 7 ข้อ ปรับจากขององค์การอนามัยโลก
18
ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์ สคร
ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์ สคร.สนับสนุนเครือข่ายในการลดโรคและภัยสุขภาพ DM/HT” Situation & trends Analysis (1) ส่วนขาดที่คัดเลือกร่วมกัน (2) พื้นที่ที่เป็นปัญหา (3) ตัวชี้วัดความสำเร็จ (4) มาตรการ (5) ตัวชี้วัดมาตรการ (6) ผู้รับ ผิดชอบ (7) ระบบเฝ้าระวัง NCD จำนวน ...จังหวัด, จำนวน ...อำเภอ, จำนวน ...ชุมชน กลุ่มระบาด การเข้าถึงการสื่อสาร พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและสื่อสารเตือนภัย Key msg. ช่องทาง กลุ่มสื่อสารฯ
19
ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์ สคร
ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์ สคร.ในการสนับสนุนเครือข่ายในการการลดโรคและภัยสุขภาพ โรค NCD” ขั้นที่ 1. พิจารณามาตรการตามรายโรคและภัยสุขภาพ ที่ได้รับการจัดลำดับว่าสำคัญ แยกตามกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการปัญหา Situation & trends Analysis (1) ส่วนขาดที่คัดเลือกร่วมกัน (2) พื้นที่ที่เป็นปัญหา (3) ตัวชี้วัดความสำเร็จ (4) มาตรการ (5) ตัวชี้วัดมาตรการ (6) ผู้รับ ผิดชอบ (7) ระบบเฝ้าระวัง NCD จำนวน ...จังหวัด, จำนวน ...อำเภอ, จำนวน ...ชุมชน กลุ่มระบาด การเข้าถึงการสื่อสาร พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและสื่อสารเตือนภัย Key msg. ช่องทาง กลุ่มสื่อสารฯ จำนวน ...ชุมชน การจัดการลดปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เครือข่ายเข้มแข็งจัดการปัญหาได้ กลุ่มพัฒนาเครือข่าย
20
ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์ สคร
ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์ สคร.สนับสนุนการลดโรคและภัยสุขภาพ ด้วยการสื่อสารฯ” ขั้นที่ 2. พิจารณาตามพื้นที่ดำเนินการ (setting) โดยบูรณาการมาตรการเข้าด้วยกัน Situation & trends Analysis (1) ส่วนขาดที่คัดเลือกร่วมกัน (2) พื้นที่ที่เป็นปัญหา (3) ตัวชี้วัดความสำเร็จ (4) มาตรการ (5) ตัวชี้วัดมาตรการ (6) ผู้รับ ผิดชอบ (7) การเข้าถึงการสื่อสาร ชุมชน ปชก.กลุ่มเสี่ยง (เป้าหมาย) มความรู้ เข้าใจการป้องกันตนเองจาก DM/Ht พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและสื่อสารเตือนภัย Key msg. ช่องทาง กลุ่มสื่อสารฯ ชุมชน/โรงเรียน ปชก.กลุ่มเสี่ยง (เป้าหมาย) มความรู้ เข้าใจการเกียวกับภัยบุหร่ ปชก.กลุ่มเสี่ยง (เป้าหมาย) มความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับโทษของสุรา โครงการพัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและสื่อสารเตือนภัย
21
ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์ สคร
ตัวอย่าง “แผนยุทธศาสตร์ สคร.สนับสนุนการลดโรคและภัยสุขภาพ ด้วยการสื่อสารฯ” ขั้นที่ 2. พิจารณาตามพื้นที่ดำเนินการ (setting) โดยบูรณาการมาตรการเข้าด้วยกัน โรคและภัยสุขภาพ (1) พื้นที่ดำเนินการ / Setting (2) ส่วนขาดที่คัดเลือกร่วมกัน (3) KPI มาตรการ (5) ตัวชี้วัดมาตรการ (6) ผู้รับ ผิดชอบ (7) แผนงาน โครงการ (set priority) (8) งบประมาณ (9) DM/HT ชุมชน การเข้าถึงการสื่อสาร ปชก.กลุ่มเสี่ยง (เป้าหมาย) มความรู้ เข้าใจการป้องกันตนเองจาก DM/Ht พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและสื่อสารเตือนภัย Key msg. ช่องทาง กลุ่มสื่อสารฯ บุหรี่ ชุมชน/โรงเรียน ปชก.กลุ่มเสี่ยง (เป้าหมาย) มความรู้ เข้าใจการเกียวกับภัยบุหร่ สุรา ปชก.กลุ่มเสี่ยง (เป้าหมาย) มความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับโทษของสุรา โครงการพัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและสื่อสารเตือนภัย
22
“ตัวอย่าง”การเชื่อมโยงการบูรณาการยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค เพื่อสนับสนุนการลดโรคและภัยสุขภาพ
องค์ความรู้ เครือข่าย สื่อสารฯ ตอบโต้ฯ ประเมิน พัฒนาองค์กร A B C D จัดกลุ่มกิจกรรมเพื่อนำไปสู่การจัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อขอรับการจัดสรรงบประมาณ
23
ผสมส่วนเหมือน ผสานส่วนต่าง สร้างความกลมเกลียว ดุจดนตรีวงเดียวกัน
ภาพฝันของเรา ผสมส่วนเหมือน ผสานส่วนต่าง สร้างความกลมเกลียว ดุจดนตรีวงเดียวกัน
24
M&E “No measurement is no development”
25
Terms Monitoring = Measurement Evaluation = Measurement + Judgment
26
Evaluation Formative vs Summative External vs Internal
Timing : Pre - During – Post Step : Context (Need) Feasibility Input Process Input, Outcome, Impact Management Situation analysis-Planning-Implementation-Evaluation
27
Evaluation Unit of Evaluation : Region, Province, District
2. Point of Evaluation Use Quantitative & Qualitative Objective > Subjective Data Base on any (Existing) Plan
28
หลักการติดตามกำกับ และประเมินผล
การถ่ายทอดยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติอาศัยการดึงองค์ประกอบของกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ไปเป็นเป้าหมายของการสร้างหรือออกแบบแผนงานในรายละเอียดต่อไป (Programming) มีการขยายผลไปสู่ระดับปฏิบัติสร้างเป็นแผนปฏิบัติการ (Implementation plan) สำหรับหน่วยงานระดับปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome) ข้อมูลป้อนกลับจากระดับล่างสู่ระดับที่สูงกว่า เพื่อให้สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและแก้ไขแผนปฏิบัติการ แผนงานหรือแม้แต่กลยุทธ์ที่กำหนดไว้เดิม (Given strategy) ให้มีความเหมาะสมแก่สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปได้ ทำให้เกิดเป็นกลยุทธ์ที่เกิดขึ้นใหม่ (Emerging strategy)
29
ความสัมพันธ์ระหว่างวงจรโครงการกับ การประเมินผลโครงการ
การกำหนดโครงการ การประเมินก่อนการดำเนินงาน การวางแผนโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ ปัจจัยนำเข้า การดำเนินโครงการ กระบวนการ การประเมินขณะดำเนินการ คุณภาพของแผน 1. มีการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ 2. กลุ่มเป้าหมายชัดเจน เจาะจง 3. มาตรการ/กิจกรรม เหมาะสม ปฏิบัติได้ ผลผลิต การประเมินเมื่อสิ้นสุดโครงการ ผลที่ตามมา/ผลกระทบ ผลกระทบในระยะยาว การประเมินผลหลังสิ้นสุด
30
ไม่บรรลุวัตถุประสงค์
M&E CIPP MODEL ผลผลิตของโครงการ PRODUCT เพราะอะไร จะแก้ไขอย่างไร ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ เป็นไปตามแผน การดำเนินงาน PROCESS มีปัจจัยอะไร ปรับปรุงอย่างไร ไม่เป็นไปตามแผน ได้ตามแผน ปัจจัยนำเข้า INPUT มีเหตุผลอะไร จะแก้ไขอย่างไร ไม่ได้ตามแผน การิเคราะห์สภาพปัญหา ได้แก่ สภาพปัญหาในพื้นที่ และการทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา แยกเป็น ข้อมูลภาพรวม ข้อมูลรายปัญหา อะไร คือปัญหา ปัญหาสุขภาพ ที่เป็นข้อเท็จจริง ของชุมชน พื้นที่ ปัญหาสุขภาพ ที่เป็นตัวแทน หรือสะท้อนภาพรวม เช่น ค่าสถิติ อุบัติการณ์ การสำรวจประชากร ปัญหา “กิจกรรมบริการ” ของกลุ่มที่มีปัญหาสุขภาพ/ป่วย เช่น สถิติของคลินิกทันตกรรม ปัญหา “การดำเนินงาน” ของหน่วยงาน ตั้งแต่ มาตรการ ความครอบคลุม การบริหารจัดการ กิจกรรม งบประมาณ กำลังคน กระบวนการวางแผนแก้ไขปัญหา แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพจังหวัด แผนบูรณาการเชิงรุก แก้ไขปัญหาพื้นที่ กระบวนการนำแผนสู่การปฎิบัติ ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติ ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน ความพร้อมของฐานข้อมูลบริการ ความร่วมมือกับภาคส่วน ท้องถิ่น ชุมชน เอกชน NGOs การใช้จ่ายงบประมาณ ฯลฯ ได้จัดเตรียม บริบทของโครงการ CONTEXT มีเพราะเหตุใด จะทำอย่างไร ไม่ได้จัดเตรียม
31
Q & A
32
What do we use Population Parameter (Fact) Sample Statistics
33
The different of term Proportion (สัดส่วน) = a/a+b x 100%
Ratio (อัตราส่วน) = a/b Rate (อัตรา) = a/a+b x K (1,000 or 100,000)/year
34
อัตรา(ส่วน)มารดาตาย The Ratio vs Rate
MATENAL MORTALITY RATE (RATIO) : MMR อัตรา(ส่วน)มารดาตาย แม่ตายเนื่องจากการตั้งครรภ์และการคลอด x 100,000 เด็กเกิดมีชีพ
35
Attractive report Sexy Report Marketing (4P) Visualization
Analyzed-synthesis Crucial Precise Easily digest Appropriate time Marketing (4P)
36
Good Indicator Validity Availability Reliability Sensitivity
37
Indicator (ตัวชี้วัด) Target (เป้าหมาย) Criteria (เกณฑ์)
Leading Indicator Lagging Indicator Target (เป้าหมาย) Criteria (เกณฑ์)
38
Indicator (ตัวชี้วัด)
Input-Process-Result (Output-Outcome-Impact) Performance Productivity Efficacy Effectiveness Efficiency Equity Equality Responsiveness
39
ความเชื่อมโยง สอดคล้องของการตอบคำถาม
ประเด็นปัญหา ผลลัพธ์ ผลผลิต 1 ผลผลิต 2 ผลผลิต 3 กลยุทธ์/กิจกรรม 1 กลยุทธ์/กิจกรรม 2 กลยุทธ์/กิจกรรม 3 โครงการ / คุณค่าใหม่ที่นำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.