ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2
หลักพื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
P = G + E Et + Ep A + D + I EBV Selection response
3
หลักพื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
EBV Mating Selection Natural selection Artificial selection
4
ประเภทของ Artificial selection
Tandem Selection Independent Culling Level Selection index Calculated selection index BLUP
5
หลักพื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
การคัดเลือก (selection) คือ ? “การที่เราจัดการให้สัตว์บางตัวสามารถดำรงอยู่ภายในฟาร์ม เพื่อใช้ถ่ายทอดพันธุกรรม เพื่อการผสมพันธุ์ และในขณะเดียวกัน สัตว์บางตัวจะถูกคัดทิ้งออกไป” Migration จะตรงกันข้ามกับ Selection
6
ผลตอบสนองการคัดเลือก Response to selection
ผลตอบสนองการคัดเลือก หมายถึง “ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยในรุ่นพ่อแม่ (ก่อนการคัดเลือก) กับค่าเฉลี่ยในรุ่นลูก (ที่เกิดจากฝูงที่ผ่านการคัดเลือก)”
7
ผลตอบสนองการคัดเลือก Response to selection
ค่าเฉลี่ยในรุ่นพ่อแม่ก่อนคัด ค่าเฉลี่ยในรุ่นพ่อแม่หลังคัด culling μ0 μ1 ค่าเฉลี่ยในรุ่นลูกหลังคัด = Selection differential μ1-μ0 = Selection response μ2-μ0 μ2
8
ผลตอบสนองการคัดเลือก Response to selection
ชื่ออื่นๆของผลตอบสนองการคัดเลือก ความก้าวหน้าการคัดเลือก Selection response Selection progress Genetic gain
9
ผลตอบสนองของการคัดเลือก
(1) ได้มีการประยุกต์ใช้หาค่า h2 ได้ดังนี้ ค่าอัตราพันธุกรรมที่คำนวณได้ในลักษณะเช่นนี้ มีชื่อเรียกว่า “อัตราพันธุกรรมประจักษ์” (realized heritability)
10
Selection response (7) เมื่อ L = ช่วงชีวิตของสัตว์เป็นปี
ผลการตอบสนองการคัดเลือกที่ผ่านมาเป็นการประเมินในแต่ ละรุ่น หากผู้ทดลองต้องการทราบผลตอบสนองในแต่ละปี สามารถทำได้โดยนำสมการมาหารด้วยช่วงชีวิต (generation interval หรือ generation length) ของสัตว์แต่ละชนิด (species) (7) เมื่อ L = ช่วงชีวิตของสัตว์เป็นปี
11
Generation interval ชนิดสัตว์ ช่วงชีวิต (ปี) ม้า 9-13 โคเนื้อ 4-5
ช่วงชีวิตของสัตว์ หมายถึง ค่าเฉลี่ยของอายุพ่อแม่ที่สามารถให้รุ่นลูกมา ทดแทนตนเองเพื่อการผสมพันธุ์ได้ โดยแสดงดังตาราง ชนิดสัตว์ ช่วงชีวิต (ปี) ม้า โคเนื้อ โคนม สุกร แกะ สุนัข
12
Example Ex. สมมุติให้น้ำหนักเมื่ออายุ 100 วันของฟาร์มหนึ่งมีค่า 85 กก. ถ้าในปีนี้ทาง ฟาร์มทำการคัดเลือกจนได้ค่าเฉลี่ยของฝูงหลังคัดเป็น 98 กก. และกำหนดให้ค่า อัตราพันธุกรรมมีค่า 30% แล้วจงคำนวณ selection differential , genetic gain และค่าเฉลี่ยในรุ่นลูก = = 13 กก. G = = 0.30 x 13 = 3.9 กก. ค่าเฉลี่ยในรุ่นลูกมีค่า = = 88.9 กก.
13
Relaxation of selection
Import new population genetic import Relaxation of selection limited generation
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.