งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย
InCites SciVal & โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย วันที่ 30 มกราคม 2558 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดย นายชัยสิทธิ์ อังคะปัญญาเดช, บรรณารักษ์ปฏิบัติการ, สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2 InCites & SciVal เครื่องมือประเมินคุณภาพการวิจัย (Research Performance Evaluation) ที่สามารถวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย จากบทความวิจัยที่ตีพิมพ์จากทั่วโลก โดยอ้างอิงบนฐานข้อมูล ISI Web of Science และ Scopus สามารถเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างบุคคล องค์กร ประเทศ สาขาที่ทำการวิจัย รวมถึง Benchmarking ซึ่งสามารถแสดงผลการเปรียบเทียบเป็นกราฟรูปแบบต่างๆ มหาวิทยาลัยที่มีผลงานตีพิมพ์งานวิจัยมากที่สุดในโลก 5 อันดับแรก (Incites)

3 InCites & SciVal 1. ข้อมูลจำนวนงานวิจัย (Publication)
2. ข้อมูลจำนวนการอ้างถึง (Citation) 3. ข้อมูลการตีพิมพ์ผลงานของนักวิจัย (Researcher) 4. การเปรียบเทียงานวิจัยทั้งในเชิง ปริมาณและคุณภาพ (Benchmarking) 5.ข้อมูลสาขาที่มีการทำวิจัย (Research Area) 6. ข้อมูลความร่วมมือระหว่างนักวิจัย และองค์กร (Collaboration) แสดงผล Research Area ของประเทศไทยในรูปแบบ Pie graph (SciVal)

4 : Publications มหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่มีจำนวนการตีพิมพ์งานวิจัย มากที่สุดใน 5 อันดับแรก ระหว่างปี จากข้อมูลจะพบว่า มหาวิทยาลัยมหิดลมีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากที่สุดในระหว่างปี หากเข้าไปดูในรายละเอียดจะพบว่าสาขาที่มีการอ้างถึงมากที่สุด คือ Infectious Diseases

5 : Citation Trend graph แสดงรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยที่มีผลงานวิจัยที่ถูกอ้างถึงมากที่สุด 5 อันดับแรก ในระหว่างปี จากกราฟจะเห็นว่า จำนวนการอ้างถึงใน 2014 จะน้อยกว่าปี ทั้งที่จำนวนการตีพิมพ์มากกว่า เนื่องจากงานวิจัยตีพิมพ์ในปี 2014 ทำให้จำนวนการอ้างถึงนั้นยังมีไม่มาก

6 : Researcher แสดงรายชื่อนักวิจัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5 อันดับแรก ที่มีผลงานตีพิมพ์มากที่สุด ในระหว่างปี จากข้อมูลจะพบว่า นักวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากที่สุดในระหว่างปี คือ Anucha Apisarnthanarak

7 : Benchmarking Trend graph เปรียบเทียบผลงานวิจัยสาขา Infectious Diseases ที่ถูกอ้างถึงในระหว่างปี 2010 – 2014 ของ 5 มหาวิทยาลัย จากข้อมูลในปี 2011 จะพบว่างานวิจัยในสาขา Infectious Diseases ของ Chiang Mai University นำไปอ้างถึงมากที่สุด

8 : Research Area Tree graph แสดงข้อมูลสาขางานวิจัยในประเทศไทยที่ถูกอ้างถึงมากที่สุด (Time Cited) ในระหว่างปี 2010 – 2014 จากข้อมูลจะพบว่างานวิจัยในสาขา Infectious Diseases ในประเทศไทยมีอ้างถึงมากที่สุด โดยรองลงมาเป็นสาขา Immunology

9 : Collaboration แสดงข้อมูลความร่วมมือในการศึกษาวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กับสถาบันอื่นๆ ในระหว่างปี 2000 – 2014 จากข้อมูลจะพบว่า มีงานวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดลมากที่สุดในระหว่างปี หากเข้าไปดูในรายละเอียดจะพบว่าสาขาที่มีความร่วมมือกันมากที่สุด คือ Infectious Diseases

10 : Publications แสดงข้อมูลจำนวนการตีพิมพ์งานวิจัยของ Thammasat University ในระหว่างปี จากข้อมูลจะพบว่าในปี 2013 มีจำนวนการตีพิมพ์งานวิจัยมากที่สุด

11 : Citation แสดงข้อมูลจำนวนการถูกอ้างถึงงานวิจัยของ Thammasat University ในระหว่างปี จากข้อมูลในระหว่างปี พบว่าในปี 2010 มีงานวิจัยมีการถูกอ้างถึง (Cited) มากที่สุด

12 : Researcher แสดงรายชื่อนักวิจัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 10 อันดับแรก ที่มีผลงานตีพิมพ์มากที่สุด ในระหว่างปี จากข้อมูลจะพบว่า นักวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากที่สุดในระหว่างปี คือ Anucha Apisarnthanarak โดยมีจำนวนมากถึง 72 บทความ

13 : Benchmarking แสดงข้อมูลจำนวนการตีพิมพ์งานวิจัยระหว่าง ธรรมศาสตร์ เปรียบเทียบกับจุฬาลงกรณ์ฯและมหิดล ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ในระหว่างปี จากข้อมูลจะพบว่าระหว่างปี พบว่าจุฬาลงกรณ์ฯ ตีพิมพ์งานวิจัยด้าน วิศวกรรมศาสตร์ มากกว่ามหิดล และธรรมศาสตร์

14 : Research Area Pie Graph แสดงข้อมูลสาขางานวิจัยของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่มีการตีพิมพ์เป็นเปอร์เซ็น ในระหว่างปี 2010 – 2014 จากข้อมูลจะพบว่าระหว่างปี พบว่ามีการตีพิมพ์งานวิจัยด้าน Medicine มากที่สุด คือ 19.1%

15 : Collaboration แสดงข้อมูลความร่วมมือในการศึกษาวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กับมหาวิทยาลัยมหิดลในระหว่างปี 2010 – 2014 จากข้อมูลจะพบว่า มีงานวิจัยร่วมกันกว่า 175 งาน ในระหว่างปี 2010–2014 หากเข้าไปดูในรายละเอียดจะพบว่า สาขาด้าน General Medicine มีความร่วมมือระหว่างกันมากที่สุดคิดเป็น 16.4%

16 1. ในระหว่างปี 2010 – 2014 มธ. มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยจำนวนเท่าใด 2
1. ในระหว่างปี 2010 – 2014 มธ. มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยจำนวนเท่าใด 2. สาขาวิชาใดที่มีการตีพิมพ์มากที่สุดของ มธ. 3. สาขาวิชาใดที่มีการอ้างถึงมากที่สุดของ มธ. 4. นักวิจัยที่ตีพิมพ์ผลงานมากที่สุดของ มธ. 5. นักวิจัยที่ถูกอ้างถึงผลงานมากที่สุดของ มธ. 6. หน่วยงาน / สถาบัน ที่มีความร่วมมือกับ มธ. มากที่สุด 7. งานวิจัยในสาขาใด ที่มีการอ้างถึง มากที่สุดของ มธ. 8. มหาวิทยาลัยใดที่มีความโดดเด่นทางด้าน .... มากที่สุด 9. แนวโน้มในการศึกษาวิจัยขณะนี้ด้านใดที่มีความโดดเด่น หรือมี Impact มากที่สุดในโลก 10. ประเทศที่มีความร่วมมือในการทำวิจัยร่วมกับ มธ. มากที่สุด ถาม-ตอบ


ดาวน์โหลด ppt โปรแกรมวิเคราะห์สมรรถนะด้านวิจัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google