ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMonthani Adulet ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การศึกษาผลกระทบของฝนกรดที่มี ต่อต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
(The Effect of Acid rain to Nepenthes) จัดทำโดย นายปฎิมากรณ์ แก้วสถิตย์ นางสาวดวงธิดา พันธุ์เมฆา นางสาวศุภรดา ยุทธกิจ ครูที่ปรึกษา อาจารย์พัชรี อินทปัญญา โรงเรียนบ้านนา “นายกพิทยากร” จังหวัดนครนายก
2
ที่มาและความสำคัญ ภาวะฝนกรด (Acid rain) ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดฝนกรด
2SO2(g) + O2(g) 2SO3(g) SO3(g) + H2O(l) H2SO4(aq) 2NO(g) + O2(g) 2NO2(g) 2NO2(g) + H2O(l) HNO2(aq) + HNO3(aq)
3
ภาวะฝนกรด (Acid rain) ในประเทศไทย
ที่มาและความสำคัญ ภาวะฝนกรด (Acid rain) ในประเทศไทย คพ.ชี้แนวโน้มไทยเสี่ยงภาวะ'ฝนกรด'เร่งคุมระดับมลพิษ กรมควบคุมมลพิษ(คพ.)ร่วมกับเครือข่ายการติดตามตรวจสอบการตกสะสมของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก(EANET) ซึ่งมีสมาชิก 13 ชาติ ได้แก่ กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เวียดนาม เมียนมาร์ ไทย มองโกเลีย ฟิลิปปินส์ เกาหลี ญี่ปุ่น จีน และรัสเซีย โดยได้ดำเนินการติดตามตรวจสอบการตกสะสมของฝนกรด และระดับความรุนแรงของปัญหาจากการตกสะสมของกรดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกมาตั้งแต่ปี 2553 พบว่า มีความเป็นกรดมากขึ้น รวมทั้งสถานีตรวจวัดของไทย 6 จุด คือในกทม.2 แห่ง กาญจนบุรี ชลบุรี เชียงใหม่ นครราชสีมา ที่พบว่าค่าน้ำฝนมีความเป็นกรดเช่นกัน ที่มา: หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 17 กรกฎาคม See more at:
4
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในปี ค.ศ.1985 นิตยสาร Time Magazine ของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับการตาย ของต้นไม้จํานวนมากในป่าของประเทศเยอรมนี ในชื่อบทความ“ The dying Forests –What Is Killing All the Trees? ” บทความนี้เป็นบทความที่สร้างความสนใจให้ชาวโลกและทําให้ตะหนักถึงภัยคุกคามใหม่ที่เกิดขึ้น ปรากฏการณ์ต้นไม้ตายในประเทศเยอรมนี เรียกว่าWaldsterben หรือ dying-forest symdrome โดยสาเหตุของปัญหาดังกล่าวเกิดจากผลกระทบของฝนที่มีฤทธิ์เป็นกรด หรือ ฝนกรด
5
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของภาวะฝนกรดที่มีต่อการเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง
6
สมมุติฐาน ถ้าฝนกรดเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เมื่อรดด้วยน้ำที่มีภาวะเป็นกรดซัลฟิวริก(H2SO4)และกรดไนตริก(HNO3) ลงบนต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง จะทำให้การเจริญเติบโตของความยาวของใบ ความกว้างของใบและขนาดของหม้อเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ
7
สายพันธุ์ที่ทำการศึกษา กรดที่นำมาจำลองเป็นภาวะฝนกรด
ขอบเขตของการวิจัย สายพันธุ์ที่ทำการศึกษา หม้อข้าวหม้อแกงลิง กรดที่นำมาจำลองเป็นภาวะฝนกรด กรดซัลฟิวริก กรดไนตริก ตัวแปรต้น น้ำที่ใช้รดต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงซึ่งมีภาวะเป็นกรด เตรียมจาก กรดซัลฟิวริก และกรดไนตริก ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตาม การเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง ได้แก่ ความยาวของใบ ความกว้างของใบ ขนาดของหม้อ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ตัวแปรควบคุม ปริมาณน้ำที่รด ความถี่ในการรด สภาพแวดล้อม
8
วิธีการดำเนินงานโดยสังเขป
เตรียมกรด H2SO4 HNO3 pH = 5.5 เตรียมหม้อข้าวหม้อแกงลิง จำนวน 9 ต้น H2SO4 HNO3 H2O รดวันละ 2 ครั้งช่วงเช้าและเย็น ครั้งละ 200 ลูกบาศก์เซนติเมตรเป็นระยะเวลา 6 เดือน และวัดการเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ส่วนที่จะวัด ได้แก่ ความยาวของใบ ความกว้างของใบ ขนาดของหม้อ
9
แผนการดำเนินงาน ระยะเวลา การทำงาน 20 ตุลาคม - 20 พฤศจิกายน 57
ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน 25 พฤศจิกายน – 10 ตุลาคม 57 เตรียมอุปกรณ์การทดลอง 12 พฤศจิกายน – 12 พฤษภาคม 57 ทำการทดลอง บันทึกผล 12 พฤษภาคม 57 สรุปผลการทดลอง
10
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ทำให้ทราบผลของฝนกรดที่มีต่อการเจริญเติบโตของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง 1. เพื่อเป็นข้อเสนอแนะให้แก่ผู้ที่นำต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงไปขยายพันธุ์ในพื้นที่ที่ประสบภาวะฝนกรด 2. มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับการดูแลต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง 3.
11
เอกสารอ้างอิง กรมวิทยาศาสตร์บริการ, ฝนกรด, เข้าถึงได้จาก [Online] ] 28 ตุลาคม 2557 สถาบันส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, หนังสือเรียนเคมีพื้นฐาน, องค์การค้า สกสค. ปีที่พิมพ์ 2556 ฝนกรด, เข้าถึงได้จาก [Online] 28 ตุลาคม 2557
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.