งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ ©

2 แฟ้มข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ
เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ แฟ้มข้อมูลทางการแพทย์และสุขภาพ

3 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(1) PERSON ข้อมูลทั่วไปของประชาชนในเขตรับผิดชอบและผู้ที่มาใช้บริการประชาชนทุกคนที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ (1,2) ประชากรทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ (3)ผู้มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบ (4,5) ข้อมูลที่บันทึก 1. ข้อมูลบ้าน 2. ข้อมูลบุคคลในบัญชี 1

4 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(1) PERSON

5 (1) PERSON ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข person_duty สถานะในชุมชน
เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ (1) PERSON ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข person_duty สถานะในชุมชน blood_group หมู่เลือด provis_bgroup หมู่เลือด person_labor_type รหัสความเป็นคนต่างด้าว provis_typearea รหัสความเป็นคนต่างด้าว(ส่งออก) house_regist_type สถานะบุคคล occupation รหัสอาชีพเก่า provis_occupa รหัสอาชีพใหม่ provis_race รหัสเชื้อชาติ สัญชาติ

6 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(2) ADDRESS ข้อมูลที่อยู่ของผู้ที่มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบ(4,5) หรือประชาชนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบแต่มีทะเบียนบ้านอยู่ นอกเขตรับผิดชอบ(3)

7 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(3) DEATH ข้อมูลประวัติการเสียชีวิตของประชาชนทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ และผู้ป่วยที่มารับบริการ หมายเหตุ เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาล หมายถึงตำบลที่ตั้ง หรือพื้นที่รับผิดชอบ กรณีเสียชีวิตในโรงพยาบาล “โรงพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยจะเป็นผู้บันทึกข้อมูล” สถานบริการปฐมภูมิจะบันทึกประชาชนในเขตรับผิดชอบที่เสียชีวิตเฉพาะ เสียชีวิตนอกสถานพยาบาล เสียชีวิตในสถานพยาบาลนอกสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธาธารณสุข

8 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(3) DEATH ตัวอย่าง 1 กรณีคนไข้ในรับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิเสียชีวิตที่โรงพยาบาล ให้โรงพยาบาลเป็นผู้บันทึกข้อมูล (ใน HOSxP ของโรงพยาบาล)

9 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(3) DEATH ตัวอย่าง 1 หน่วยบริการปฐมภูมิ (คนไข้เสียชีวิตในโรงพยาบาล : HOSxP PCU) กดปิดไม่ต้องบันทึก

10 (3) DEATH ดังนั้นเมื่อส่งออก 43 แฟ้มจะไม่มีข้อมูล DEATH ส่งออก
เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ (3) DEATH ดังนั้นเมื่อส่งออก 43 แฟ้มจะไม่มีข้อมูล DEATH ส่งออก

11 (3) DEATH ตัวอย่าง 2 กรณีคนไข้ในรับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ
เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ (3) DEATH ตัวอย่าง 2 กรณีคนไข้ในรับผิดชอบของหน่วยบริการปฐมภูมิ - เสียชีวิตนอกสถานพยาบาล - เสียชีวิตในสถานพยาบาลนอกสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หน่วยบริการปฐมภูมิบันทึกข้อมูลลง HOSxP PCU หากไม่ทราบสถานที่เสียชีวิตให้ลงบันทึกเป็น “99999” หมายเหตุ แนวทางการลงบันทึกข้อมูลดังกล่าว เข้าใจว่าเป็นการป้องกันการส่งรายงานข้อมูลคนตายซ้ำซ้อนระหว่าง รพ.สต. และ โรงพยาบาล

12 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(5) CARD ข้อมูลประวัติการมีหลักประกันสุขภาพของประชาชนทุกคนในเขตรับผิดชอบ และผู้ป่วยที่มารับบริการ

13 (5) CARD ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข pttype ประเภทสิทธิการรักษารหัสเดิม
เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ (5) CARD ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข pttype ประเภทสิทธิการรักษารหัสเดิม provis_instype ประเภทสิทธิการรักษารหัสใหม่

14 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(40) DRUGALLERGY ข้อมูลประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยที่มารับบริการ ( HOSxP)

15 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(40) DRUGALLERGY ข้อมูลประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยที่มารับบริการ ( HOSxP PCU)

16 เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ www.im-hospital.blogspot.com
(40) DRUGALLERGY ข้อมูลประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยที่มารับบริการ ( HOSxP PCU)

17 (40) DRUGALLERGY ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข
เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ (40) DRUGALLERGY ตารางที่ต้องตรวจสอบ/แก้ไข allergy_seriousness ระดับความรุนแรงของการแพ้ยา allergy_relation ระดับความสัมพันธ์ ประเภทการวินิจฉัยการแพ้ยา


ดาวน์โหลด ppt คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google