ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
2 วาระแห่งชาติด้านการเกษตรที่สำคัญ คือ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตร แก้ปัญหาความยากจนและกระจายรายได้ของเกษตรกร
2
ปรัชญาหลัก : พื้นฐานของแนวคิดแนวปฏิบัติ ของการพัฒนา
ปรัชญาหลัก : พื้นฐานของแนวคิดแนวปฏิบัติ ของการพัฒนา แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางลดพึ่งพาภายนอก เพิ่มพึ่งพาตนเอง แนวทางสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน แนวทางพัฒนาการเกษตรและชนบทเป็นฐานเศรษฐกิจหลัก
3
องค์ประกอบของการพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยทางกายภาพ (Physical Resources) เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และผู้ประกอบการ (Human Resources) โครงสร้างองค์กรภาครัฐ (Structure of Organization) ทรัพยากรบุคคลของภาครัฐ (Government Officer) ระบบสนับสนุนการพัฒนา (Supporting Systems)
4
ศักยภาพของยุทธศาสตร์การเกษตร
ยุทธศาสตร์ คือ แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนาการเกษตรอย่างชาญฉลาด เชื่อมโยงจากวาระแห่งชาติสู่แผนปฏิบัติการในพื้นที่ ดำเนินงานบนพื้นฐานแนวคิด CEO และบูรณาการ การปฏิรูปการเกษตรเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูประบบราชการไทย
5
เป้าหมายยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2551
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สาขาการเกษตรมีมูลค่า 1,000,000 ล้านบาท สินค้าเกษตรและอาหารได้มาตรฐานสากล เกษตรกรมีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพิ่มขึ้น 1.35 ล้านราย เกษตรกรพ้นความยากจน โดยมีรายได้ขั้นต่ำ 120,000 บาท/ครัวเรือน/ปี
6
การเชื่อมโยงวาระแห่งชาติและยุทธศาสตร์กระทรวง
วาระที่ 1 การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ วาระที่ 2 การแก้ไขปัญหายากจนและการกระจายรายได้ ยุทธศาสตร์ กระทรวง ยุทธ 1 : การเพิ่มผลิตภาพ ยุทธ 2 : การสร้างมูลค่าเพิ่ม ยุทธ 3 : การนำสินค้าเกษตร และอาหารสู่ครัวโลก ยุทธ 4 : การทำให้เกษตรกรกินดี ยุทธ 5 : การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ กลุ่ม ประเด็นที่ 1 : การเสริมสร้างขีด ความสามารถการแข่งขัน อุตสาหกรรมไก่เนื้อ ประเด็นที่ 2 : การปรับเปลี่ยน อาชีพเพาะปลูกที่ไม่เหมาะสม ไปยังอาชีพที่มีศักยภาพและมี มูลค่าเพิ่มที่สูงกว่า ยุทธศาสตร์ จังหวัด ยุทธ 1 : การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต ยุทธ 2 : การสร้างโอกาสและ กระจายรายได้
7
การพัฒนาการเกษตร องค์ประกอบที่สำคัญ ปัญหา แนวทางแก้ไข
องค์ประกอบที่สำคัญ ปัญหา แนวทางแก้ไข 1. ปัจจัยทางกายภาพ ดินเสื่อมโทรม การปรับปรุงบำรุงดินพัฒนาแหล่งน้ำ ขาดแหล่งน้ำ สาธารณะขุดสระน้ำในไร่นา 2. เกษตรกร ขาดทักษะการผลิต ถ่ายทอดเทคโนโลยีและเพิ่มทักษะ และขาดการวางแผน การประกอบอาชีพและการตลาด ในการแข่งขัน 3. โครงสร้างองค์กรภาครัฐ มีความซับซ้อน กระจายอำนาจการปฏิบัติลงสู่พื้นที่ และสร้างความมีเอกภาพในการทำงาน 4. ทรัพยากรบุคคลภาครัฐ ต่างคนต่างทำขาดความ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้เป็น กลมกลืนในการทำงาน หนึ่งเดียวกับเกษตรกร มองปัญหา ร่วมกับเกษตรกร เกษตรกรเป็นของตนเอง 5. ระบบสนับสนุน ขาดแหล่งข้อมูลและ บูรณาการข้อมูลในกระทรวงเกษตร การเข้าถึงแหล่งเงินทุน และกระทรวงที่เกี่ยวข้องจัดทำแผน เยี่ยมเกษตรกรรายครัวเรือน จัดหา แหล่งเงินทุนในระบบภาคการเกษตร
8
โครงการบูรณาการส่งเสริมอาชีพเกษตรในพื้นที่ดอนจังหวัดชัยนาท
ขั้นตอนการจัดทำโครงการ นำเสนอและผ่านความเห็นชอบ กบจ. เมื่อ 11 พย.47 อยู่ระหว่างการเสนอขออนุมัติตามขั้นตอน ไม่มีปัญหาช่องว่างระหว่างการนำยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติในหน้าที่
9
4,770,110 บาท งบประมาณปกติจากส่วนราชการ 2,070,100 บาท
4,770,110 บาท มูลค่าโครงการ งบประมาณปกติจากส่วนราชการ 2,070,100 บาท งบประมาณจาก อบต ,600,000 บาท งบ CEO ,100,000 บาท
10
ผลค่าตอบแทน มีแหล่งน้ำสำหรับพัฒนาพื้นที่การเกษตร 3,000 ไร่ เกษตรกร ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ พ้นจากเกณฑ์ความยากจน เกษตรกรมีทักษะในอาชีพและการตลาด มีการบูรณาการทำงานร่วมกันโดยยึดเกษตรกร เป็นศูนย์กลาง ผลค่าตอบแทน งบประมาณ พื้นที่
11
โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนด้วยการสร้างโอกาส
หลักการ เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรที่มีอาชีพจับปลาในเขต หวงห้ามเปลี่ยนอาชีพเป็นผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว ตัวชี้วัด เกษตรกรจำนวน 54 ราย มีรายได้ไม่น้อยกว่า 30,000 บาท/คน/ปี เป็นจุดสาธิตการเรียนรู้ให้เกษตรกรที่จดทะเบียนคนจนจำนวน 500 ราย เพิ่มแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวไม่น้อยกว่า 10 ล้านบาท/ปี เพิ่มจำนวนสัตว์น้ำธรรมชาติในแม่น้ำ
12
กิจกรรมที่ดำเนินการ สถานที่ดำเนินการ งบประมาณ
การปรับปรุงภูมิทัศน์ การส่งเสริมการปลูกพืชผักที่ปลอดสารพิษ สถานที่ดำเนินการ หมู่ ต.ตลุก อ.สรรพยา จ.ชัยนาท งบประมาณ รวม 507,100 บาท งบปกติของส่วนราชการ , บาท งบ CEO , บาท
13
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนง.ทางหลวงชนบท สวท.ชัยนาท ศูนย์การท่องเที่ยวฯ สนง.สาธารณสุขจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบลตลุก
14
โครงการส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัยจากสารพิษ ปี 2548
หลักการ ส่งเสริมการผลิตข้าวปลอดภัยจากสารพิษและกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว คุณภาพดีสู่เกษตรกร ตัวชี้วัด ร้อยละ 60 % ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ สามารถปฏิบัติตาม ระบบ GAP ร้อยละ 20 % ของผลผลิตใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี ต้นทุนการผลิตต่อไร่ลดลง 10 %
15
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนในพื้นที่ 6 อำเภอ 2 กิ่งอำเภอ สหกรณ์การเกษตรเมืองชัยนาท มโนรมย์ และสรรคบุรี งบประมาณ ใช้งบประมาณปกติของหน่วยงานที่เข้าร่วมโครงการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 12 หน่วยงาน สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด สำนักงานพาณิชย์จังหวัด สหกรณ์การเกษตร
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.