ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThong Keacham ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กับการจัดการ เรียนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้
2
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ เป็นวิธีการสอนทักษะอย่างหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทักษะ ผู้เรียนทางด้านสติปัญญา ทักษะ ทัศนคติโดยการมี ปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มย่อยให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการวิเคราะห์เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ผู้วิจัยหวังว่า การสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์จะแก้ไข ข้อบกพร่องได้และ สามารถส่งผลต่อการพัฒนาการเรียน การสอนวิชา เครื่องกลไฟฟ้า 1 ให้ดีขึ้นอีก ผู้วิจัยจึงสนใจ ที่จะศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1
3
ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม สัมพันธ์ กับการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ ดังนั้น กระบวนการกลุ่มจึงเป็นวิธีการสอน นอกจากพัฒนาทักษะของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ แล้ว ยัง ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจทักษะตนเอง เข้าใจผู้อื่น และค้นพบ สิ่งต้องการเรียนรู้ด้วยตนเอง ภายหลังจากที่ได้ทำ กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม ผู้เรียนได้รู้ทักษะจากเพื่อนโดยการ เลียนแบบ จึงทำให้ผู้เรียนมีความสามารถภายหลังจากที่ ได้ทำกิจกรรมกลุ่ม
4
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กับการจัดการเรียนการ สอนแบบสืบเสาะหาความรู้
5
ตาราง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเครื่องกล ไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ รวม 28 73 45 ( ก ) คะแนนรวมหลังเรียน – คะแนนรวมก่อนเรียน 45 ( ข ) ( จำนวนนักเรียน X คะแนนเต็ม ) – คะแนนรวมก่อน เรียน 62 ค่าดัชนีประสิทธิผล = ( ก ) / ( ข ) 0.7258 ร้อยละความก้าวหน้า 72.58
6
ตาราง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเครื่องกล ไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดย การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ รวม 25 59 34 ( ก ) คะแนนรวมหลังเรียน – คะแนนรวมก่อนเรียน 34 ( ข ) ( จำนวนนักเรียน X คะแนนเต็ม ) – คะแนนรวมก่อน เรียน 65 ค่าดัชนีประสิทธิผล = ( ก ) / ( ข ) 0.5230 ร้อยละความก้าวหน้า 53.30
7
1. พบว่า ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 28 และผลรวมคะแนนทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 73 เมื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล จากการเรียน พบว่า ผลที่ได้เท่ากับ 0.7258 แสดงให้ เห็นว่าการใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์สามารถ พัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนสูงขึ้นได้ร้อยละ 72.58
8
2. พบว่า ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 25 และผลรวมคะแนนทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 59 เมื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล จากการเรียน พบว่า ผลที่ได้เท่ากับ 0.5230 แสดงให้ เห็นว่าการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ สามารถพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นได้ร้อยละ 52.30 3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่าการเรียนการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์มี ประสิทธิภาพมากกว่าการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้
9
จบการนำเสนอขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.