ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChalermchai Kaewmanee ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
การพัฒนาการเรียน การสอน วิชากลยุทธ์การตลาดตามความคิดเห็นของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) กลุ่ม 7051 โดย อาจารย์บุปผาภรณ์ บูรณะพิมพ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ฯ
2
ปัญหาการวิจัย การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเกิดขึ้นจากพื้นฐานความเชื่อ ที่ว่าการจัดการศึกษามีเป้าหมายสำคัญที่สุด คือ การจัดการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนแต่ละคนได้พัฒนาตนเองอย่างสูงสุดตามกำลังหรือศักยภาพของแต่ละคน แต่เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งทางด้านความต้องการ ความสนใจ ความถนัด และยังมีทักษะพื้นฐานอันเป็นการเรียนรู้ อันได้แก่ ความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียน ความสามารถทางสมอง และการแสดงผลการเรียนรู้ออกมาในลักษณะที่ต่างกัน จึงควรมีการจัดการที่เหมาะสมในลักษณะที่แตกต่างกัน
3
ปัญหาการวิจัย (ต่อ) ตามเหตุปัจจัยของผู้เรียนแต่ะคน และผู้ที่มีบทบาทสำคัญในกลไกของการจัดการนี้คือ ครู แต่จากข้อมูลอันเป็นปัญหาวิกฤตทางการศึกษา และวิกฤตของผู้เรียนที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าครู ยังแสดงบทบาทและทำหน้าที่ของตนเองไม่เหมาะสม จึงต้องทบทวนทำความเข้าใจซึ่งนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตทางการศึกษาและวิกฤตของผู้เรียนต่อไป (การจัดการความรู้ สำนักบรรณสารและสารสนเทศ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล หัวข้อหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ) Posted on มิถุนายน 18, 2012 by admin
4
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน วิชากลยุทธ์การตลาดตามความคิดเห็นของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) กลุ่ม วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ สมเด็จเจ้าพระภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาสิริ โสภาพรรณวดี
5
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
นักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ด้านผู้สอน ในหัวข้อมีการค้นคว้าองค์ความรู้เพิ่มเติมในการสอนเป็นอันดับที่ มีค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่สอง ได้แก่ ใช้คำถามที่ช่วยให้เกิดความกระตือตือร้น และมีส่วนร่วมในการเรียน มีค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่สาม ได้แก่ มีความรู้ ความเข้าใจในการถ่ายทอดความรู้ มีค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่สี่ ได้แก่ มีความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาความรู้ มีค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่ห้า ได้แก่ มีการเตรียมตัวและวางแผนในการสอนเป็นขั้นตอน มีค่าเฉลี่ย 4.22 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน .548
6
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
นักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ด้านเนื้อหาการสอน เป็นอันดับที่ 1 ได้แก่ เนื้อหาวิชาที่เรียนสามารถไปประยุกต์ใช้กับการเรียนวิชาอื่นได้ มีค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่สอง ได้แก่ เนื้อหาวิชาที่เรียนมีประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพได้ อันดับที่สาม ได้แก่ เนื้อหาวิชาก่อให้เกิดคุณธรรม จริยธรรม และความคิดสร้างสรรที่ดี ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่สี่ ได้แก่ เนื้อหาการสอนมีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่ห้า ได้แก่ นักศึกษาได้รับองค์ความรู้ใหม่จากเนื้อหาวิชาค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน .485
7
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
นักศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ด้านผู้เรียน เป็นอันดับที่ 1 มีค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่สอง ได้แก่ นักศึกษาได้ฝึกการทำงานเป็นทีม ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่สาม ได้แก่ นักศึกษาได้มีโอกาสซักถามปัญหา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่สี่ ได้แก่ นักศึกษาได้รับการฝึกทักษะการคิดและการแก้ปัญหาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน อันดับที่ห้า ได้แก่ นักศึกษาได้รับความรู้และเข้าใจในเรื่องที่เรียน มีค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน .428
8
สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนวิชากลยุทธ์ การตลาดตามความคิดเห็นของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) กลุ่ม วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยาม ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จเจ้าพระภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาสิริโสภาพรรณวดี ใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้สอน ด้านเนื้อหา การสอน และด้านผู้เรียน นั้น ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนวิชากลยุทธ์การตลาดอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด
9
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.