ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยWismita Pongsanam ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
PHP : [1] PHP เบื้องต้น
2
PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ. 1994 โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ เป็นเวอร์ชั่น ต่าง ๆ จนกระทั่งถึงเวอร์ชั่นล่าสุดซึ่ง เป็นเวอร์ชั่น 5 นักพัฒนาสำคัญของ เวอร์ชั่น 4 และ เวอร์ชั่น 5 คือ Zeev Suraski และ Andi Gutmans ในขณะนี้มีเว็บเซอร์เวอร์ (Web server) ประมาณ 20 ล้านโดเมน (Domains) ( ข้อมูลปี 2550) ที่ใช้ PHP เราสามารถตรวจสอบจำนวน ของ Domains ที่ใช้ PHP ได้ที่ http://www.php.net/usage.ph p/
3
PHP คืออะไร ? PHP ย่อมาจาก Personal Home Page tools ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อให้ตรงตามกฎเกณฑ์ ของ GNU ชื่อในปัจจุบันของ PHP นั้น ย่อมาจาก PHP: Hypertext Preprocessor PHP เป็นภาษาจำพวก Script language คำสั่งต่าง ๆ จะเก็บอยู่ในไฟล์ ที่เรียกว่า สคริปต์ (Script) และเวลาใช้ งานต้องอาศัยตัวแปรชุดคำสั่ง ตัวอย่าง ของภาษาสคริปต์เช่น JavaScript, Perl เป็นต้น PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า Server-side script หรือ HTML-embedded scripting language เป็นเครื่องมือที่ สำคัญชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เราสามารถ สร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
4
ภาษาสคริปต์ (Script language) ภาษาสคริปต์มีอยู่ 2 แบบคือ Server-Side Script เช่น PERL, CGI, ASP, PHP, JSP เป็นต้น Client-Side Script เช่น JavaScript, VB Script, HTML เป็นต้น
5
กลไกการทำงาน CLIENT WEB SERVER HTTP Request (url) Gets Page Hello Interprets the PHP code Server response Browser creates the web page Hello
6
ทำไมภาษา PHP น่าสนใจและน่าใช้ ภาษาอื่นที่ทำหน้าที่คล้าย ๆ กับ ภาษา PHP คือ Perl, Microsoft Active Server Pages (ASP), Java Server Page (JSP), และ Allaire ColdFusion ถ้าเปรียบเทียบภาษา PHP กับ ภาษาอื่น ๆ เหล่านี้เราจะ พบว่าภาษา PHP มีข้อได้เปรียบหลาย อย่างดังต่อไปนี้ มีสมรรถนะสูง : สามารถรองรับการ ใช้งานได้หลายล้าน Hits ในแต่ละวัน สามารถใช้ PHP ได้บนหลาย ระบบปฏิบัติการโดยที่ไม่ต้องเปลี่ยน โปรแกรม
7
ทำไมภาษา PHP น่าสนใจและน่าใช้ สามารถติดต่อกับหลายประเภทของ ฐานข้อมูลอย่างเช่น MySQL, PostgreSQL, mSQL, Oracle, Informix, Sybase และสามารถใช้ Open Database Connectivity Standard (ODBC) เพื่อติดต่อกับ ผลิตภัณฑ์ฐานข้อมูลของ Microsoft PHP เป็น Open source ไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการใช้ เราสามารถ ดาวน์โหลด PHP ได้จาก http://www.php.net/ โดยไม่ ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ เรียนรู้และใช้ง่าย โดยเฉพาะถ้าเรารู้ ภาษา C, C++, Perl และ Java อยู่ แล้ว
8
การเตรียมระบบเพื่อใช้ งาน PHP การที่จะสามารถใช้งาน PHP ได้ นั้น เครื่องที่ทำหน้าที่เป็น Web server จะต้องติดตั้งระบบปฏิบัติการและ โปรแกรมต่าง ๆ ดังนี้ ระบบปฏิบัติการ Unix, Linux, Windows เป็นต้น โปรแกรม Web server เช่น Personal Web Server (PWS), Apache, OmniHTTPd, IIS เป็นต้น PHP engine หรือ PHP interpreter ที่เหมาะสมกับระบบ ปฏิบัติการที่ใช้ สามารถ Download ได้ฟรีที่ www.php.net
9
การติดตั้ง AppServ (1) ข้อดีของ AppServ คือ เมื่อเรา ติดตั้ง AppServ จะมีการติดตั้ง โปรแกรมต่าง ๆ ที่มีความจำเป็น สำหรับการใช้งาน PHP ในครั้งเดียว โปรแกรมที่ AppServ จะติดตั้งให้มี ดังนี้ โปรแกรม Apache Web Server ตัวแปรภาษา PHP (PHP Interpreter) ฐานข้อมูล MySQL โปรแกรม phpMyAdmin ที่ช่วย จัดการฐานข้อมูล MySQL เราสามารถ Download โปรแกรม AppServ ได้ที่ http://www.appservnetwork.co m
10
การติดตั้ง AppServ (2) เมื่อดาวน์โหลดแล้วจะได้ไฟล์ ติดตั้ง Double click เพื่อ Setup program
11
การติดตั้ง AppServ (3)
12
การติดตั้ง AppServ (4)
13
การติดตั้ง AppServ (5)
14
การติดตั้ง AppServ (6) localhost
15
การติดตั้ง AppServ (7) ใส่ password เลือกเป็น tis620
16
การติดตั้ง AppServ (8)
17
การติดตั้ง AppServ (9)
18
ทดสอบ Web server เรียก Internet explorer พิมพ์ที่ Address bar ว่า http://localhost ถ้า ปรากฏหน้าจอดังรูป แสดงว่า Web server ใช้การได้ http://local host หรือ http://127. 0.0.1
19
ทดสอบ PhpMyAdmin และ MySQL ที่ Address bar เรียก http://localhost/phpMyAdmin http://localhost/ phpMyAdmin หรือ http://127.0.0.1 /phpMyAdmin
20
ทดสอบ PhpMyAdmin และ MySQL
21
สคริปต์ PHP แรก (1) เปิดโปรแกรม EditPlus เพื่อ เขียนสคริปต์ PHP
23
สคริปต์ PHP แรก (3) บันทึกสคริปต์ที่เขียนไว้ที่โฟลเดอร์ C:\AppServ\www ตั้งชื่อเป็น hello.php
24
สคริปต์ PHP แรก (4) ทดสอบสคริปต์ที่เขียนกับ Internet explorer http://localhost/ hello.php หรือ http://127.0.0.1 /hello.php
25
นามสกุลของไฟล์ PHP สคริปต์ PHP สามารถ บันทึกไฟล์โดยสามารถมี ส่วนขยายได้หลายนามสกุล ดังนี้.php ( แนะนำให้ใช้นามสกุล นี้ ).php3.php4 และอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับการ ปรับแต่ง Web Server
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.