ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBoonchu Ariyanuntaka ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
1 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ครูผู้สอน นายธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกลกังวล ครูธีระพล เข่งวา
2
สัมมนาพระพุทธศาสนากับ การแก้ปัญหาและการพัฒนา
2 เรื่อง สัมมนาพระพุทธศาสนากับ การแก้ปัญหาและการพัฒนา
3
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
3 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง นำข้อสรุป ทางเลือกและทางออกของ เรื่องที่สัมมนาไปเป็นแนวทางในการ แก้ปัญหาและพัฒนาตนเองครอบครัว และสังคมได้
4
อะระหังสัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
4 อะระหังสัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็น พระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นเชิง,ตรัสรู้ชอบ ได้โดยพระองค์เอง
5
พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ
5 พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ ข้าพเจ้าขออภิวาท พระผู้มี พระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (กราบ)
6
สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม
6 สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้ มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว ธัมมัง นะมัสสามิ ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม (กราบ)
7
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
7 สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มี พระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว สังฆัง นะมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ ๓ ครั้ง)
8
สัมมนา การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้/ความคิดเห็น เพื่อหาข้อ
8 สัมมนา การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้/ความคิดเห็น เพื่อหาข้อ สรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
9
สัมมนาทางพระพุทธศาสนา
9 การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้และความคิดเห็น เพื่อ หาข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยใช้หลักการ วิธีการ หรือ กระบวนการทางพระพุทธศาสนา
10
พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
10 พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สำคัญ ๕ ประการ
11
๒. ความสมดุลและความยั่งยืน ๓. ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล
11 ๑. ทางสายกลาง ๒. ความสมดุลและความยั่งยืน ๓. ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล ๔. ภูมิคุ้มกันและรู้เท่าทันโลก ๕. การเสริมสร้างคุณภาพคน
12
เศรษฐกิจพอเพียงมีแนวคิด/ ปฏิบัติอยู่บนหลักพุทธธรรมทั้งสิ้น ...
12 เศรษฐกิจพอเพียงมีแนวคิด/ ปฏิบัติอยู่บนหลักพุทธธรรมทั้งสิ้น ...
13
๑. การพึ่งตนเอง ๒. เดินสายกลาง “ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน “มัชฌิมาปฏิปทา
13 ๑. การพึ่งตนเอง “ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน ๒. เดินสายกลาง “มัชฌิมาปฏิปทา
14
๓. มิได้ปฏิเสธความมั่งคั่ง
14 ๓. มิได้ปฏิเสธความมั่งคั่ง หากความมั่งคั่งได้มาจากการไม่ เบียดเบียน ๔. สอนเรื่องสันโดษ “ยินดีในสิ่งที่ตนหาได้
15
15 ๕. สอนให้คนแข่งขันกัน “แต่แข่งขันในการทำ ความดี
16
ในพระพุทธศาสนามีหลักธรรม ซึ่งสอดคล้องกับเศรษฐกิจ
16 ในพระพุทธศาสนามีหลักธรรม ซึ่งสอดคล้องกับเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นอย่างยิ่งดังนี้
17
17 ๑. สันโดษ ๑.๑ ยถาลาภสันโดษ ความยินดีตามที่ได้มา โดยชอบธรรม
18
18 ๑. สันโดษ ๑.๒ ยถาพลสันโดษ ความยินดีกำลังที่ ตนมีอยู่
19
๑.๓ ยถาสารุปปสันโดษ ๑. สันโดษ ความยินดีตามสมควร
19 ๑. สันโดษ ๑.๓ ยถาสารุปปสันโดษ ความยินดีตามสมควร แก่ภาวะความเป็นอยู่ ของตน
20
20 ๒. ความมักน้อย อัปปิจฉตา ความต้องการน้อยหรือความมักน้อย
21
ผู้มีความอดทน ย่อมเป็นที่ชอบใจของผู้อื่น
32 มนาโป โหติ ขนฺติโก ผู้มีความอดทน ย่อมเป็นที่ชอบใจของผู้อื่น
22
33 พบกันใหม่ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ขอขอบคุณฝ่ายผลิตรายการทุกท่าน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.