งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้จัดทำ เด็กหญิงเมธาวิณี ฤาชัย ม.2/4 เลขที่ 44 เด็กหญิงสิรามล เป็งทา ม.2/4 เลขที่ 10 เด็กหญิงกนกอร กาละธรรม ม.2/4 เลขที่ 8 เด็กหญิงหทัยรัตน์ สุตา ม.2/4.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้จัดทำ เด็กหญิงเมธาวิณี ฤาชัย ม.2/4 เลขที่ 44 เด็กหญิงสิรามล เป็งทา ม.2/4 เลขที่ 10 เด็กหญิงกนกอร กาละธรรม ม.2/4 เลขที่ 8 เด็กหญิงหทัยรัตน์ สุตา ม.2/4."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้จัดทำ เด็กหญิงเมธาวิณี ฤาชัย ม.2/4 เลขที่ 44 เด็กหญิงสิรามล เป็งทา ม.2/4 เลขที่ 10 เด็กหญิงกนกอร กาละธรรม ม.2/4 เลขที่ 8 เด็กหญิงหทัยรัตน์ สุตา ม.2/4 เลขที่ 13 เด็กหญิงวรรณภา ยิ้มแย้ม ม.2/4 เลขที่ 12

2  1. บอกกล่าวแก่ภารโรงเพื่อให้ภารโรงจัดการ  2. แนะนำการใช้คลอรีนในปริมาณที่เหมาะสมแก่ ผู้รับผิดชอบ  3. หมั่นทำความสะอาดถังบรรจุอยู่เสมอ  4. แจ้งไปยังผู้อำนวยการ  5. พกน้ำดื่มมาดื่มเอง  หมายเหตุ... เนื้อหาบางส่วนนั้นพวกเราได้นำมาจาก หนังสือและสอบถามผู้ได้รับผลกระทบ

3  ไอโอดีน เราจะพบเห็นได้บ่อย และเป็นทางเลือกที่เหมาะสมกว่า คลอรีน ไอโอดีนจะทำให้น้ำสะอาด แต่น่าเสียดายที่ไอโอดีนไม่ สามารถฆ่าโปรโตซัว Cryptosporidium ซึ่งเป็นปัญหาที่พบมากใน ประเทศไทย (Cryptosporidium จะไม่ออกฤทธิ์ทันทีทันใดต่อ ร่างกาย แต่จะออกฤทธิ์ประมาณ 4 วัน หลังจากที่ดื่มเข้าไป ส่งผล ให้เกิดอาการท้องเสียอย่างรุนแรง และออกฤทธิ์อยู่นาน 10 วัน ) ไอโอดีนเหมาะที่จะใช้กับน้ำที่มีลักษณะใส ถ้าน้ำที่ขุ่นและมีสิ่ง สกปรกปะปนอยู่ในน้ำ ต้องกรองด้วยผ้าก่อน ( ในกรณีที่อยู่ในป่า สามารถใช้เสื้อผ้ากรองได้ ) แล้วจึงใส่ไอโอดีนในอัตราส่วน 4 หยด ต่อน้ำหนึ่งลิตร และสามารถเพิ่มจำนวนได้ถึง 8 หยด ในกรณีที่น้ำ ขุ่นหรือค่อนข้างสกปรก และทิ้งไว้อย่างน้อย 30 นาทีก่อนที่จะดื่ม แต่ไอโอดีนมีกลิ่นฉุน ปัญหาเรื่องกลิ่นของไอโอดีนในน้ำ แก้ได้โดย คุณสามารถใส่วิตามิน C เม็ด ลงในน้ำหลังจากหยดไอโอดีนแล้ว 30 นาที เพื่อช่วยกลบรสชาติของไอโอดีนลง ( ข้อควรระวัง ! อย่าใส่ วิตามิน C ลงในน้ำก่อน 30 นาที เพราะอาจทำให้ไอโอดีนออกฤทธิ์ ไม่เต็มที่ ) การใช้ไอโอดีน เป็นการทำให้น้ำสะอาดปลอดภัย แต่ก็มี ข้อจำกัด คือ คนที่เป็นโรคไทรอยด์ หรือคนที่แพ้สารไอโอดีน และ หญิงมีครรภ์ ไม่ควรดื่มน้ำที่ใส่ไอโอดีน และที่สำคัญที่สุด คือ ไอโอดีนไม่มีฤทธิ์ในการฆ่าโปรโตซัว Cryptosporidium ในน้ำ ซึ่ง เป็นสาเหตุของโรคท้องร่วง

4  1. คณะครู  2. นักเรียน  3. ผู้บริโภคท่านอื่น  4. เกิดเป็นปัญหาให้ผู้บริหาร  5. สุขภาพร่างกายของนักเรียนหรือผู้บริโภค


ดาวน์โหลด ppt ผู้จัดทำ เด็กหญิงเมธาวิณี ฤาชัย ม.2/4 เลขที่ 44 เด็กหญิงสิรามล เป็งทา ม.2/4 เลขที่ 10 เด็กหญิงกนกอร กาละธรรม ม.2/4 เลขที่ 8 เด็กหญิงหทัยรัตน์ สุตา ม.2/4.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google